วิศวกรรมความปลอดภัย

Safety Engineering

รู้และเข้าใจเกี่ยวกับปัจจัยและสาเหตุของอุบัติเหตุ ออกแบบ วิเคราะห์และควบคุมความ   เสี่ยงภัยในพื้นที่ทำงาน วิธีการป้องกันอุบัติภัยในการทำงาน สภาพแวดล้อมและองค์ประกอบเกี่ยวกับความปลอดภัยทางวิศวกรรม การประกันอุบัติเหตุ การสอบสวนอุบัติเหตุ การประเมินความเสี่ยง ระบบและอุปกรณ์ป้องกันภัย การจัดตั้งองค์กรความปลอดภัยทางวิศวกรรม หลักการบริหารงานความปลอดภัยและกฎหมายความปลอดภัย
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในอุบัติเหตุ  การป้องกันอุบัติเหตุ  การจัดตั้งองค์กร ของทางวิศวกรรม อันเป็นแนวทางในการศึกษาต่อในแขนงวิชาที่เกี่ยวข้อง   และการนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันต่อไป
               ศึกษาเกี่ยวกับปัจจัยและสาเหตุของอุบัติเหตุ ออกแบบ วิเคราะห์และควบคุมความ   เสี่ยงภัยในพื้นที่ทำงาน วิธีการป้องกันอุบัติภัยในการทำงาน สภาพแวดล้อมและองค์ประกอบเกี่ยวกับความปลอดภัยทางวิศวกรรม การประกันอุบัติเหตุ การสอบสวนอุบัติเหตุ การประเมินความเสี่ยง ระบบและอุปกรณ์ป้องกันภัย การจัดตั้งองค์กรความปลอดภัยทางวิศวกรรม หลักการบริหารงานความปลอดภัยและกฎหมายความปลอดภัย
Study of loss prevention principles; design, analysis, and control of workplace hazards, human element; system safety techniques; principles of safety management; and safety Laws.
อาจารย์ประจำวิชาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ
1.1.1 ผลการเรียนรู้ เมื่อนักศึกษาเรียนสิ้นสุดรายวิชานี้ นักศึกษาจะมีคุณลักษณะดังนี้
                    1.1.1.1 มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์สุจริต และตรงต่อเวลา
                       1.1.1.2 สามารถทำงานเป็นทีมและแก้ไขปัญหาได้
                    1.1.1.3 มีจรรยาบรรณทางวิชาชีพ
1.2.1. บรรยาย พร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา
1.2.2. อภิปรายกลุ่มและให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง
1.3.1 ประเมินพฤติกรรมที่เข้าเรียนและแบบฝึกหัดที่ได้รับ
มอบหมาย
มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับปัจจัยและสาเหตุของอุบัติเหตุ  วิธีการป้องกันอุบัติภัยในการทำงาน  สภาพแวดล้อมและองค์ประกอบเกี่ยวกับความปลอดภัยทางวิศวกรรม  การประกันอุบัติเหตุ  การสอบสวนอุบัติเหตุ  การประเมินความเสี่ยง  ระบบและอุปกรณ์ป้องกันภัย  การจัดตั้งองค์กรความปลอดภัยทางวิศวกรรม  หลักการบริหารงานความปลอดภัยและกฎหมายความปลอดภัย
                บรรยาย  อภิปราย  นำเสนอรายงาน   
งานที่มอบหมาย สอบกลางภาคและปลายภาค
พัฒนาแนวความคิดให้เป็นระบบ และมีแบบแผน มีการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาอย่างเป็นเหตุเป็นผล
งานที่มอบหมายเป็นรายบุคคล เป็นกลุ่ม
งานที่มอบหมาย สอบกลางภาคและปลายภาค
พัฒนาทักษะในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
มอบหมายรายงานเป็นกลุ่ม
งานที่ได้รับมอบหมาย
5.1.1 มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี
5.1.2 มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์ หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์
5.1.3 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีอภิปราย
ผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย การทํางานในสถานประกอบการ หรือการประกอบอาชีพอิสระนั้นไม่ได้ใช้เพียงแค่หลัก ทฤษฎีแต่ส่วนใหญ่จะเน้นในด้านทักษะทางการปฏิบัติการใช้ทักษะในการวางแผน การออกแบบ การ ทดสอบ และการปรับปรุงแก้ไข ซึ่งมีความสําคัญมากในการทํางาน อีกทั้งยังเป็นเครื่องมือที่จําเป็นยิ่งในการ พัฒนาตนเองและความก้าวหน้าในตําแหน่งหน้าที่ของบัณฑิตวิศวกรรมอุตสาหการ ดังนั้น ในการเรียนการ สอนวิชาการควบคุมคุณภาพ จากแผนที่แสดงการการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) ได้ครอบคลุมความรับผิดชอบรอง ดังนี้  6.2 มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความ ร่วมมือกันเป็นอย่างดี
มอบหมายกิจกรรมการปฏิบัติงานกลุ่ม กรณีศึกษา
มอบหมายกิจกรรมกลุ่ม กรณีศึกษา
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.2 พฤติกรรมการเข้าเรียนตรงเวลาของนักศึกษา เช็คชื่อ และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามตรงเวลา • สังเกตพฤติกรรมในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับอย่างต่อเนื่อง า ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 2.1 2.2 2.3 3.1 3.2 3.3 แบบฝึกหัด ผลรายงาน ผลการปฏิบัติงาน 3-16 20%
3 4.4 5.2 5.3 ผลการรายงาน นำเสนอผลงาน 14-15 20%
4 2.1-2.3 3.1-3.3 สอบกลางภาค ปลายภาค 50%
  กิติ  อินทรานนท์ . วิศวกรรรมความปลอดภัยพื้นฐานของวิศวกร, พิมพ์ที่โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยา: พ.ศ. 2538
ชุมพล  ศฤงคารศิริ และคณะ. วิศวกรรมความปลอดภัย.  กรุงเทพฯ: หจก  เอ๊กซ์   พรส  มีเดีย.  2534
ณรงค์  นันทวรรธนะและเอื้องฟ้า นันทวรรธนะ ความปลอดภัยและการควบคุมมลพิษ  พิมพ์ที่สำนักพิมพ์ฟิสิกส์เซ็นเตอร์ : พ.ศ. 2537
ประสงค์  นรจิตร์.  “ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติโรงงาน  พ.ศ.2535 และกฎกระทรวง”  วารสารโรงงาน  (มิถุนายน-กันยายน 2535)
วิฑูรย์  สิมะโชคดี และ วีระพงษ์  เฉลิมจิระรัตน์ , วิศวกรรมและการบริหารความปลอดภัยในโรงงาน, สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น),พิมพ์ครั้งที่ 16.  2546
วิฑูรย์  สิมะโชคดี    วิศวกรรมความปลอดภัย    พิมพ์ที่ ห.จ.ก. สำนักพิมพ์ฟิสิกส์
ไม่มี
     เว็บไซด์ที่เกี่ยวข้องในแต่ละหัวข้อ
แบบประเมินอาจารย์ผู้สอนและแบบประเมินนักศึกษา         
การสังเกตจากการเรียนการสอน
ผลการสอบ
การวิจัยในชั้นเรียน
การประเมินผลการเรียนของนักศึกษาโดยออกระดับผลการเรียนให้กับนักศึกษาตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้
ปรับปรุงแนวการสอนจากผลการเมินของนักศึกษาทุกๆปี