สัมมนาการบัญชีการเงิน
Seminar in Financial Accounting
1.1 เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจเกี่ยวกับ แนวคิด หลักการ ของกรอบแนวคิดในการรายงานทางการเงิน และมาตรฐานการบัญชี ตลอดจนแนวทางการนำกรอบแนวคิดในการรายงานทางการเงินและมาตรฐานการบัญชีไปใช้ในการปฏิบัติงานด้านการบัญชีการเงินสำหรับองค์กรรูปแบบต่าง ๆ
1.2 เพื่อให้นักศึกษาสามารถค้นคว้า นำเสนอ ข้อมูลในรูปแบบการเขียนและการนำเสนอด้วยวาจา
1.3 เพื่อให้นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ประเด็นปัญหาและแนวทางการแก้ไขปัญหาด้านการบัญชีการเงิน
1.4 เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจเกี่ยวกับ บทบาท คุณค่าแห่งวิชาชีพบัญชีต่อสังคม
1.5 เพี่อให้นักศึกษาตระหนักถึงจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี
1.2 เพื่อให้นักศึกษาสามารถค้นคว้า นำเสนอ ข้อมูลในรูปแบบการเขียนและการนำเสนอด้วยวาจา
1.3 เพื่อให้นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ประเด็นปัญหาและแนวทางการแก้ไขปัญหาด้านการบัญชีการเงิน
1.4 เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจเกี่ยวกับ บทบาท คุณค่าแห่งวิชาชีพบัญชีต่อสังคม
1.5 เพี่อให้นักศึกษาตระหนักถึงจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี
1.1 เพื่อพัฒนาความสามารถของนักศึกษาในการประยุกต์ แนวคิด หลักการ การค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับการบัญชี เพื่อใช้เป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาด้านการบัญชีการเงิน
1.2 เพื่อเสริมสร้างทักษะการนำเสนอในรูปแบบการเขียนและวาจา
1.3 เพื่อเสริมสร้างจิตสำนึกและตระหนักถึงบทบาทของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีต่อสังคม
1.2 เพื่อเสริมสร้างทักษะการนำเสนอในรูปแบบการเขียนและวาจา
1.3 เพื่อเสริมสร้างจิตสำนึกและตระหนักถึงบทบาทของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีต่อสังคม
อภิปรายและวิเคราะห์แนวทางการนำกรอบแนวคิดในการรายงานทางการเงินและมาตรฐานการบัญชีไปใช้ในการปฏิบัติงานด้านบัญชีการเงินสำหรับองค์กรประเภทต่าง ๆ ประเด็นทางด้านบัญชีการเงินที่น่าสนใจ รวมทั้งปัญหาและแนวทางแก้ไขปัญหาด้านการบัญชีการเงิน และจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยใช้กรณีศึกษา บทความ เอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งในประเทศและต่างประเทศ เพื่อฝึกให้รู้จักทักษะในการเสนอข้อมูลทั้งการเขียนและการนำเสนอด้วยวาจา
นักศึกษาสามารถเข้าพบได้ตามตารางเวลาที่กำหนดไว้ โดยประมาณ 10 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
1.1 มีความรู้และความเข้าใจในคุณค่าแห่งวิชาชีพ จรรยาบรรณวิชาชีพ มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ
1.2 มีความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย เคารพและสามารถปฏิบัติตามกฎระเบียบของสถาบัน และสังคม
1.3 สามารถบริหารเวลาและปรับวิถีชีวิตอย่างสร้างสรรค์ในสังคม
1.4 มีจิตสำนึก และพฤติกรรมที่คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตน อย่างมีคุณธรรม
1.2 มีความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย เคารพและสามารถปฏิบัติตามกฎระเบียบของสถาบัน และสังคม
1.3 สามารถบริหารเวลาและปรับวิถีชีวิตอย่างสร้างสรรค์ในสังคม
1.4 มีจิตสำนึก และพฤติกรรมที่คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตน อย่างมีคุณธรรม
สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ในเนื้อหาวิชาเรียน
ให้ความสำคัญในการมีวินัย การตรงต่อเวลา และการปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย
สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ ในเนื้อหาวิชาเรียน
การเรียนรู้และการสอนจากกรณีศึกษา
การเรียนรู้และการสอนจากกรณีศึกษา
ประเมินโดยการสังเกตพฤติกรรมนักศึกษาเกี่ยวกับการเข้าชั้นเรียนตรงเวลา การทำงานทันตามกำหนดและความพร้อมเพียงของการเข้าร่วมกิจกรรม
ประเมินการกระทำทุจริตในการสอบ
ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน
สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน
2.1 มีความรู้และความเข้าใจในแนวคิด ทฤษฎี หลักการ และวิธีการทางการบัญชี
2.2 มีความรู้และความเข้าใจในองค์ความรู้ทางด้านอื่นที่สัมพันธ์กับองค์ความรู้ด้านการบัญชี โดยสามารถบูรณาการและนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม
2.3 มีความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการปฏิบัติงานด้านการบัญชีและอื่นๆ โดยใช้วิธีการเรียนรู้จากประสบการณ์
2.4 สามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงทางวิชาการ การวิจัย และวิชาชีพ ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง
2.2 มีความรู้และความเข้าใจในองค์ความรู้ทางด้านอื่นที่สัมพันธ์กับองค์ความรู้ด้านการบัญชี โดยสามารถบูรณาการและนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม
2.3 มีความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการปฏิบัติงานด้านการบัญชีและอื่นๆ โดยใช้วิธีการเรียนรู้จากประสบการณ์
2.4 สามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงทางวิชาการ การวิจัย และวิชาชีพ ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง
ใช้วิธีการสอนหลายรูปแบบ โดยเน้นแนวคิด หลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติ เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ ประกอบด้วย การบรรยายและอภิปราย การสาธิต การใช้สถานการณ์จำลอง การสอนแบบเน้นกรณีปัญหา
การถาม-ตอบปัญหาทางวิชาการในห้องเรียน
มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลเพื่อจัดทำรายงาน
การเรียนรู้จากสถานการณ์จริง จากการฝึกงานในองค์กรการธุรกิจหรืออุสาหกรรมและการศึกษาดูงานในองค์การธุรกิจหรืออุตสาหกรรม
การเรียนรู้จากสถานการณ์จริง จากการฝึกงานในองค์กรการธุรกิจหรืออุสาหกรรมและการศึกษาดูงานในองค์การธุรกิจหรืออุตสาหกรรม
ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น งานที่มอบหมาย การทดสอบย่อย รายงานและการค้นคว้า และการนำเสนอ
การประเมินจากการสอบข้อเขียน และ การสอบปฏิบัติ
การประเมินผลการเรียนรู้โดยผู้ประกอบการจากสถานการณ์จริง หรือ การฝึกงานในองค์กรธุรกิจ
การประเมินความรู้ของบัณฑิตโดยการสำรวจความคิดเห็นของผู้ใช้บัณฑิต
3.1 สามารถสืบค้นข้อมูล ประมวลข้อมูล และแนวคิดต่างๆ เพื่อนำมาใช้ในการระบุและวิเคราะห์ปัญหาที่มีความซับซ้อนได้ด้วยตนเอง
3.2 สามารถประยุกต์และบูรณาการความรู้ทางการบัญชีและด้านอื่นที่สัมพันธ์กัน ใช้ทักษะทางวิชาชีพและดุลยพินิจในการแก้ไขปัญหา รวมทั้งเสนอแนะแนวทางใหม่ ในสถานการณ์ต่าง ๆ อย่างสร้างสรรค์ โดยคำนึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการตัดสินใจ
3.3 สามารถติดตาม ประเมินผล และรายงานผลได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน
3.2 สามารถประยุกต์และบูรณาการความรู้ทางการบัญชีและด้านอื่นที่สัมพันธ์กัน ใช้ทักษะทางวิชาชีพและดุลยพินิจในการแก้ไขปัญหา รวมทั้งเสนอแนะแนวทางใหม่ ในสถานการณ์ต่าง ๆ อย่างสร้างสรรค์ โดยคำนึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการตัดสินใจ
3.3 สามารถติดตาม ประเมินผล และรายงานผลได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน
ส่งเสริมการเรียนรู้ และฝึกกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ จากระดับง่ายไปสู่ระดับที่สูงขึ้น ตามระดับชั้นการศึกษา โดยใช้โจทย์แบบฝึกหัด โจทย์ปัญหา กรณีศึกษา หรือสถานการณ์จำลอง
จัดให้มีรายวิชาที่เสริมสร้างการพัฒนาทักษะทางเชาวน์ปัญญา ความคิด การวิเคราะห์และสังเคราะห์ด้านต่างๆ ทั้งในสาขาและนอกสาขา
สอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เปิดโอกาสให้นักศึกษาศึกษา ค้นคว้า รายงานทางเอกสาร และรายงานหน้าชั้นเรียน รวมทั้งอภิปรายแสดงความคิดเห็นได้มากขึ้น
สอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เปิดโอกาสให้นักศึกษาศึกษา ค้นคว้า รายงานทางเอกสาร และรายงานหน้าชั้นเรียน รวมทั้งอภิปรายแสดงความคิดเห็นได้มากขึ้น
ประเมินจากผลการแก้โจทย์แบบฝึกหัด โจทย์ปัญหา กรณีศึกษา หรือสถานการณ์จำลองที่ได้รับมอบหมาย
ประเมินจากการสอบที่ต้องใช้ทักษะทางปัญญาของแต่ละรายวิชา
ประเมินจากรายงานผลการศึกษา ค้นคว้า รายงานทางเอกสาร และการนำเสนอหน้าชั้นเรียน รวมทั้งผลการอภิปรายแสดงความคิดเห็น
ประเมินจากรายงานผลการศึกษา ค้นคว้า รายงานทางเอกสาร และการนำเสนอหน้าชั้นเรียน รวมทั้งผลการอภิปรายแสดงความคิดเห็น
4.1 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายอย่างมีประสิทธิภาพ
4.2 มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น และปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมขององค์กรได้เป็นอย่างดี
4.3 มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งในบทบาทของผู้นำ และในบทบาทของผู้ร่วมงาน
4.4 มีความรับผิดชอบการพัฒนาความรู้ความสามารถทางวิชาชีพบัญชีของตนเองอย่างต่อเนื่อง
4.2 มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น และปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมขององค์กรได้เป็นอย่างดี
4.3 มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งในบทบาทของผู้นำ และในบทบาทของผู้ร่วมงาน
4.4 มีความรับผิดชอบการพัฒนาความรู้ความสามารถทางวิชาชีพบัญชีของตนเองอย่างต่อเนื่อง
มอบหมายการทำงานแบบกลุ่มย่อยโดยมีการสลับหมุนเวียนการเป็นผู้นำ การเป็นสมาชิกกลุ่ม และผลัดกันเป็นผู้รายงาน
มอบหมายงานที่เกี่ยวข้องกับความรู้ด้านวิชาชีพบัญชีโดยให้มีการอภิปรายแสดงความคิดเห็น
ให้ศึกษาการแก้ปัญหาจากกรณีศึกษาต่าง ๆ
ให้ศึกษาการแก้ปัญหาจากกรณีศึกษาต่าง ๆ
ประเมินจากการรายงานหน้าชั้นเรียน
ประเมินการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดีจากแบบประเมินตนเองและเพื่อนในกลุ่ม ประเมินจากงานที่มอบหมายและระยะเวลาในการส่งงาน
สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน
สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน
5.1 มีทักษะการใช้วิธีวิเคราะห์เชิงปริมาณเพื่อการตัดสินใจอย่างสร้างสรรค์ในการแปลความหมาย และเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปัญหาหรือข้อโต้แย้ง
5.2 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูดและการเขียน รู้จักเลือกและใช้รูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสมกับปัญหาและกลุ่มผู้ฟังที่แตกต่างกัน
5.3 สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและเทคนิคการสื่อสารที่เหมาะสมในการเก็บรวบรวมข้อมูล การแปลความหมาย และการสื่อสารสารสนเทศ
5.2 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูดและการเขียน รู้จักเลือกและใช้รูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสมกับปัญหาและกลุ่มผู้ฟังที่แตกต่างกัน
5.3 สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและเทคนิคการสื่อสารที่เหมาะสมในการเก็บรวบรวมข้อมูล การแปลความหมาย และการสื่อสารสารสนเทศ
มอบหมายงานที่ต้องใช้ทักษะในการวิเคราะห์หรือคำนวณเชิงตัวเลข
มอบหมายงานที่ต้องมีการสืบค้นข้อมูลสารสนเทศจากฐานข้อมูลทั้งในประเทศและต่างประเทศ
ให้อภิปรายและนำเสนอผลงานที่ได้จากการสืบค้นหน้าชั้นเรียน และนำเสนอในรูปแบบรายงาน
มอบหมายกรณีศึกษาให้นำมาวิเคราะห์และนำเสนอผลการวิเคราะห์ในห้องเรียน ในรูปแบบสื่ออิเล็กทรอนิกส์
มอบหมายกรณีศึกษาให้นำมาวิเคราะห์และนำเสนอผลการวิเคราะห์ในห้องเรียน ในรูปแบบสื่ออิเล็กทรอนิกส์
ประเมินจากผลงาน กิจกรรมที่เกี่ยวข้องเชิงสถิติและคณิตศาสตร์
ประเมินจากผลงานการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศที่มอบหมายและนำเสนอผลงานเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม
ประเมินจากการสอบข้อเขียน
ประเมินทักษะการใช้ภาษาพูดในการนำเสนอรายงานและการใช้ภาษาเขียนจากรายงานเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม
ประเมินทักษะการใช้ภาษาพูดในการนำเสนอรายงานและการใช้ภาษาเขียนจากรายงานเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. คุณธรรม จริยธรรม | 2. ความรู้ | 3. ทักษะทางปัญญา | 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | |||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 |
1 | 11011499 | สัมมนาการบัญชีการเงิน |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 1.1 2.1, 2.2 3.1 | ประเมินจากการสอบข้อเขียน โดยแบบทดสอบ จะมีทั้งส่วนทฤษฏี โจทย์ปัญหาสั้น ๆ และกรณีศึกษา จากระดับง่ายไปสู่ระดับที่สูงขึ้น ซึ่งจะวัดระดับการเรียนรู้ (Cognitive Domain) ด้านความจำ ความเข้าใจ การประยุกต์ใช้ และการวิเคราะห์ | 18 | 40% |
2 | 1.2, 4.1 | สังเกตพฤติกรรมนักศึกษา ตามข้อตกลงในการเรียน การเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย และ การส่งงานตามกำหนด | ตลอดภาคการศึกษา | 10% |
3 | 2.1,2.2 3.1, 3.2, 3.3 4.1, 4.3 5.2, 5.3 | ประเมินผลงานจากงานที่มอบหมาย กรศึกษา และ การนำเสนอรายงาน สังเกตพฤติกรรมการทำงานในกลุ่ม ประเมินผลการจัดสัมมนา | ตลอดภาคการศึกษา 16 | 50% |
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการประกอบวิชาชีพบัญชี
พรบ.การบัญชี พ.ศ. 2543 และประกาศอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
พรบ.วิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 และประกาศอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
มาตรฐานการบัญชี และ มาตรฐานการรายงานทางการาเงิน
Intermediate Accounting By Keiso&Weygandt
International Accounting
พรบ.การบัญชี พ.ศ. 2543 และประกาศอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
พรบ.วิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 และประกาศอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
มาตรฐานการบัญชี และ มาตรฐานการรายงานทางการาเงิน
Intermediate Accounting By Keiso&Weygandt
International Accounting
ข้อมูลเกี่ยวกับ กฎหมาย ประกาศต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับวิชาชีพบัญชี มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน การตีความ และ ข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับความเคลื่อนไหวทางวิชาชีพ สามารถสืบค้นได้จาก เว็บไซต์ ดังต่อไปนี้
สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์
กรมพัฒนาธุรกิจการค้า
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
กรมสรรพากร
และสามารถสืบค้นได้จากวารสารวิชาชีพบัญชีของ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์
กรมพัฒนาธุรกิจการค้า
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
กรมสรรพากร
และสามารถสืบค้นได้จากวารสารวิชาชีพบัญชีของ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ใช้แบบประเมินผลการสอนอาจารย์ผู้สอน ซึ่งเป็นแบบประเมินผลการสอนของมหาวิทยาลัย
นำผลคะแนนของนักศึกษา และ ผลการประเมินผลการสอนของอาจารย์จากนักศึกษา ประชุมร่วมกันระหว่างผู้สอน คณะกรรมการหลักสูตร เพื่อประเมินผลการสอนในภาพรวม
วิเคราะห์ข้อมูลจาก สรุปผลจากรายงานผลการดำเนินงานรายวิชา (มคอ.5) และแบบประเมินผลการสอนของนักศึกษา โดยผู้สอนจะนำเอาข้อมูลทั้ง 2 ประเด็นทบทวนและปรับปรุงแนวทางการสอนเพื่อให้บรรลุตามผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง และวัตถุประสงค์ของรายวิชา
การทวนสอบในระดับรายวิชา จะประเมินผลการเรียนการสอนทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ พิจารณา ความเหมาะสมของโครงสร้างคะแนน ความตรงประเด็นของการออกข้อสอบกับผลการเรียนรู้ของรายวิชา การวัดผลและการให้คะแนน แนวโน้มของระดับคะแนนของนักศึกษา
การประเมินผลจะดำเนินการโดยคณะกรรมการทวนสอบของสาขาวิชา จากผู้ทรงคุณวุฒิ ร่วมกับคณาจารย์ภายในสาขาที่ได้รับการแต่งตั้ง อย่างน้อย 25% ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปี
การประเมินผลจะดำเนินการโดยคณะกรรมการทวนสอบของสาขาวิชา จากผู้ทรงคุณวุฒิ ร่วมกับคณาจารย์ภายในสาขาที่ได้รับการแต่งตั้ง อย่างน้อย 25% ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปี
นำผลการประเมินจากข้อ 1 ข้อ 3 และ ข้อ 4 มาพิจารณาปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา