หัตถกรรมเครื่องปั้นดินเผา 2

Ceramic Craft 2

1. รู้แนวโน้มงานหัตถกรรมเครื่องปั้นดินเผา
2. รู้การพัฒนางานหัตถกรรมเครื่องปั้นดินเผา
3. รู้จักเครื่องมือที่ใช้ในงานหัตถกรรมเครื่องปั้นดินเผาประเภทต่างๆ
4. รู้กระบวนการผลิตงานหัตถกรรมเครื่องปั้นดินเผา
5. รู้จักการนำงานผลิตหัตถกรรมเครื่องปั้นดินเผามาประยุกต์และสร้างสรรค์ใช้กับงานชนิดอื่นๆ
สามารถเรียนรู้และฝึกปฏิบัติในงานหัตถกรรมเครื่องปั้นดินเผาได้
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับเกี่ยวกับแนวโน้มและความเคลื่อนไหวของหัตถกรรมเครื่องปั้นดินเผา การพัฒนาวัตถุดิบและกระบวนการผลิต การสร้างเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในกระบวนการผลิตหัตถกรรมเครื่องปั้นดินเผาประเภทเครื่องประดับ ของที่ระลึก และของตกแต่ง และการสร้างสรรค์งานหัตถกรรมเครื่องปั้นดินเผาประเภทเครื่องประดับ ของที่ระลึก และของตกแต่ง
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความเอื้ออาทรต่อผู้ร่วมงานในโรงงาน มีความรับผิดชอบ มีระเบียบวินัย มีจรรยาบรรณในวิชาชีพ มีความเคารพในสิทธิส่วนบุคคลระหว่างเพื่อนร่วมงาน เคารพในหน้าที่และความสามารถ มีคุณธรรมจริยธรรมตามหลักสูตร

ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละและซื่อสัตย์สุจริต มีระเบียบวินัยรักษาเวลา มีความรับผิดชอบต่อสังคม มีบุคลิกในสภาวะความเป็นผู้นา และผู้ตามสามารถแก้ปัญหาได้ตามลาดับความสำคัญ เคารพในการรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น เคารพในศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ ปฏิบัติตามกฎและระเบียบข้อปฏิบัติขององค์กรอย่างเคร่งครัด สามารถวิเคราะห์ผลกระทบต่อองค์กรจากสภาวะสังคม มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางคุณธรรมและจริยธรรม อภิปรายกลุ่ม กำหนดให้นักศึกษาหาบทบาทสมมติ
พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา ประกอบกับการอ้างอิงเอกสารที่ใช้ทารายงาน ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา ประเมินผลการนาเสนอรายงานที่มอบหมาย
รู้จักการนำงานผลิตหัตถกรรมเครื่องปั้นดินเผามาประยุกต์และสร้างสรรค์เป็นงาน หัตถกรรมที่ผสมผสาน กับงานชนิดอื่นๆได้อย่างลงตัว
บรรยายเนื้อหา อธิบายหลักการทางานเป็นกลุ่มการนาเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา
ผลงานจากกิจกรรมการสอนในห้องเรียน สอบกลางภาคเรียน สอบปลายภาค ประเมินจากการนำเสนอผลงานที่สร้างสรรค์ และการค้นคว้าข้อมูลต่างๆ จากกรณีศึกษา
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์เพื่อการการนาวัสดุอื่นมาประกอบใช้ให้เกิดความสวยงาม
มีการมอบให้ทำโครงงานพิเศษ ที่ใช้เหตุและผลในการวิเคราะห์และแก้ปัญหา การนำเสนอผลงาน อภิปรายกลุ่ม มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการวิเคราะห์ปัญหากรณีศึกษาการ สะท้อนแนวคิดจากพฤติกรรม
สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นผลงานการปฏิบัติงานจากปัญหาพิเศษ วัดผลจากการประเมินชิ้นงาน สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา มีการมอบหมายงานทั้งกลุ่มและรายบุคคล ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
4 สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาขณะปฏิบัติงานในชัวโมงเรียน
ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทารายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งทางอีเมล์ ทักษะในการนาเสนอรายงาน โดยใช้รูปแบบ เครื่องมือและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
มีการมอบหมายให้ศึกษาด้วยตนเอง แล้วนำมาประยุกต์ใช้กับงานปฏิบัติโดยเน้นการคำนวณรูปทรง สัดส่วนผลงาน และปริมาตร จากแหล่งที่มาข้อมูลน่าเชื่อถือ นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
1. มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ                                    
2. มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง                                 
3. มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
ฝึกปฏิบัติงานหัตถกรรมเครื่องปั้นดินเผา
1. กระบวนการปฏิบัติงาน
2. ผลงาน
3. การนำเสนอผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคเทคโนโลยีสารสนเทศน์ 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3
1 44021303 หัตถกรรมเครื่องปั้นดินเผา 2
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 - ทักษะที่ 2 ความรู้ - ทักษะที่ 3 ทักษะทางปัญญา ผลงานสร้างสรรค์ชิ้นที่ 1 และ 2 ผลงานสร้างสรรค์ชิ้นที่ 3 ทดสอบกลางภาค ผลงานสร้างสรรค์ชิ้นที่ 4 สอบปลายภาค 3, 4 5-12 8 13-15 16 20% 30% 15% 20% 15%
2 - ทักษะที่ 4 ทักษะความสัมพันธ์นะหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ - ทักษะที่ 5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศน์ วิเคราะห์กรณีศึกษา ค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20 %
1. ปรีดา พิมพ์ขาวขำ. เซรามิกส์. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร : สำนักโอเดียนสโตร์,2539
2. ดรุณี วัฒนศิริเวช และสุธี วัฒนศิริเวช. การวิเคราะห์แร่ดิน เคลือบ และตำหนิในผลิตภัณฑ์เซรามิก. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552.
3. ไพจิตร อิงศิริวัฒน์. รวมสูตรเคลือบเซรามิกส์. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์ม, 2537.
4. ไพจิตร อิงศิริวัฒน์. เนื้อดินเซรามิก. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์ม, 2541.
5. ไพจิตร อิงศิริวัฒน์. สีเซรามิก. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์ม, 2546.
6. ไพจิตร อิงศิริวัฒน์. ตำหนิและแนวทางแก้ไข. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์ม, 2552.
7. ไพบูลย์ หล้าสมศรี. เคลือบสีแดงจากทองแดง : สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์ม, 2552.
8. “วารสารกรมวิทยาศาสตร์บริการ”, ปี 43 ฉบับที่ 137 มกราคม 2538, หน้า 3 – 4.
9. เอ็ททสึโซะ คาโต. หลักการทำเคลือบเซรามิก. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553.
10. Creber D., (1997), “Crystalline Glazes”, A&C Black (Publishers) Limited, 43-50.
11. Lawrence W.G., (1972), “Ceramic Science for the Potter”, United States of Amerlica, 142-168.
12. Mills M., (2008) “Surface Design for Ceramics”, New York, 96-104.
13. Norsker H. and Danisch J. (1993) “Glazes-for the Self-Reliant Potter”.
14. Kingery W.D., Bowen H.K. and Uhlmann D.R., (1976), “Introduction to ceramics”, 2nd ed, New York : John Wiley and Sons Press, 587-593, 816-909.
15. Tristram F., (1996), “Single Firing”, A&C Black (Publishers) Limited.
ไม่มี
เว็บไซต์ใน Pinterest
Google trend
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้

การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน

2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้

สัมมนาการจัดการเรียนการสอน การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้

การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้

ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ