การเตรียมโครงงาน

Pre-project

1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการวิเคราะห์ปัญหาตำหนิบนผลิตภัณฑ์เซรามิกที่เกิดจากวัตถุดิบและกระบวนการผลิต สามารถป้องกันและแก้ไขปัญหาตำหนินั้นได้
 
2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนาปรับปรุงรายวิชา
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับตำหนิบนผลิตภัณฑ์เซรามิก ปัจจัยที่ทำให้เกิดตำหนิ และกระบวนแก้ไขตำหนิ เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ โครงงานอุตสาหกรรม และยังสามารถนำไปใช้ในการประกอบอาชีพ
1. คำอธิบายรายวิชา
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับแนวโน้มและความเคลื่อนไหวของหัตถกรรมเครื่องปั้นดินเผา การพัฒนาวัตถุดิบและกระบวนการผลิต การสร้างเครื่องมือและอุปกรณ์ใช้ในกระบวนการผลิตหัตถกรรมเครื่องปั้นดินเผาประเภทเครื่องประดับ ของที่ระลึก และของตกแต่ง และการสร้างสรรค์งานหัตถกรรมเครื่องปั้นดินเผาประเภทเครื่องประดับ ของที่ระลึก และของตกแต่ง
 
5.3 วิธีการประเมินผล
5.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา
1 BTECE137 การเตรียมโครงงาน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค
หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอนหลัก
1. ปรีดา พิมพ์ขาวขำ. เซรามิกส์. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร : สำนักโอเดียนสโตร์,2539
2. ดรุณี วัฒนศิริเวช และสุธี วัฒนศิริเวช. การวิเคราะห์แร่ดิน เคลือบ และตำหนิในผลิตภัณฑ์เซรามิก. กรุงเทพมหานคร :
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552.
3. ไพจิตร อิงศิริวัฒน์. รวมสูตรเคลือบเซรามิกส์. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์ม, 2537.
4. ไพจิตร อิงศิริวัฒน์. เนื้อดินเซรามิก. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์ม, 2541.
5. ไพจิตร อิงศิริวัฒน์. สีเซรามิก. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์ม, 2546.
6. ไพจิตร อิงศิริวัฒน์. ตำหนิและแนวทางแก้ไข. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์ม, 2552.
7. ไพบูลย์ หล้าสมศรี. เคลือบสีแดงจากทองแดง : สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์ม, 2552.
8. “วารสารกรมวิทยาศาสตร์บริการ”, ปี 43 ฉบับที่ 137 มกราคม 2538, หน้า 3 – 4.
9. เอ็ททสึโซะ คาโต. หลักการทำเคลือบเซรามิก. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553.
10. Creber D., (1997), “Crystalline Glazes”, A&C Black (Publishers) Limited, 43-50.
11. Lawrence W.G., (1972), “Ceramic Science for the Potter”, United States of Amerlica, 142-168.
12. Mills M., (2008) “Surface Design for Ceramics”, New York, 96-104.
13. Norsker H. and Danisch J. (1993) “Glazes-for the Self-Reliant Potter”.
14. Kingery W.D., Bowen H.K. and Uhlmann D.R., (1976), “Introduction to ceramics”, 2nd ed, New York : John Wiley
and Sons Press, 587-593, 816-909.
15. Tristram F., (1996), “Single Firing”, A&C Black (Publishers) Limited.
 
ไม่มี
1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาไว้ดังนี้
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา