การออกแบบชิ้นส่วนเครื่องจักรกล

Design of Machine Elements

1. เข้าใจขั้นตอนในการออกแบบชิ้นส่วนเครื่องจักรกล
2. คำนวณค่าตัวประกอบความปลอดภัยและการเลือกใช้ค่าตัวประกอบในการออกแบบ
3. เข้าใจคุณสมบัติทางโลหะวิทยาและทางกลของวัสดุ
4. คำนวณแรงและความเค้นที่เกิดขึ้น เมื่อชิ้นส่วนอยู่ภายใต้แรงชนิดต่าง ๆ
5. เข้าใจหลักการทำงานของชิ้นส่วนเครื่องจักรกล
6. เข้าใจการส่งถ่ายกาลังของชิ้นส่วนเครื่องจักรที่ใช้ในงานผลิต
7. เข้าใจการเลือกใช้วัสดุในการผลิตชิ้นส่วนเครื่องจักรกล
8. เข้าใจการเลือกใช้ชิ้นส่วนเครื่องจักรกลมาตรฐานให้เหมาะสมกับงาน
1. เข้าใจความหมายของปรัชญาการออกแบบชิ้นส่วนเครื่องจักรกล
2. อธิบายการวิเคราะห์ความแข็งแรงในชิ้นส่วนเครื่องจักรกล
3. เข้าใจการส่งถ่ายกาลังของเครื่องจักรกล
4. เข้าใจการคำนวณออกแบบชิ้นส่วนและแสดงแบบรายละเอียดชิ้นส่วนเครื่องจักรกล
5. เข้าใจการเลือกใช้วัสดุในการทาชิ้นส่วนเครื่องจักรกลตามมาตรฐานสากล
6. วิเคราะห์กลไกการเคลื่อนไหว ความเร็ว ความเร่ง และสภาวะสมดุล
7. เห็นคุณค่าและมีทัศนคติทีดีในการออกแบบชิ้นส่วนเครื่องจักรกล
ศึกษาถึงขั้นตอนการออกแบบ ค่าตัวประกอบความปลอดภัย คุณสมบัติทางโลหะวิทยาและทางกลของวัสดุ การวิเคราะห์แรงและความเค้นที่เกิดขึ้นเมื่อชิ้นส่วนที่อยู่ภายใต้แรงชนิดต่างๆ โดยใช้ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องเช่น วงกลมโมร์ ทฤษฎีความเสียหาย ทฤษฎีความเค้นสูงสุด การคำนวณ การออกแบบเพลา ลิ่ม สไปลน์ คับปลิ้ง แบริ่ง เฟือง หมุดย้ำ รอยเชื่อม และอื่นๆ การส่งถ่ายกาลังของชิ้นส่วนเครื่องจักรที่ใช้ในงานผลิต และการเลือกใช้วัสดุให้เหมาะสมกับงานตลอดจนเลือกใช้ชิ้นส่วนมาตรฐานให้เหาะสมกับงานนั้นๆ
 -   อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์คณะ
 -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 2 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล