การเตรียมโครงงานวิศวกรรมแม่พิมพ์

Tools and Die Engineering Pre-Project

      เพื่อให้นักศึกษามีทักษะเกี่ยวกับการค้นคว้าบทความ  งานวิจัย  สิ่งประดิษฐ์   นวัตกรรมหรืองานทางวิศวกรรมแม่พิมพ์   การตั้งชื่อโครงงาน   วิธีการเขียนรายงาน   ความเป็นมาของปัญหา   วัตถุประสงค์   ขอบเขต   ขั้นตอนและแผนการดำเนินงาน   การจัดเตรียมวัสดุและอุปกรณ์ การรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล การรายงานความก้าวหน้า   และการนำเสนอโครงงาน
เพื่อให้สอดคล้องกับทิศทางการปรับปรุงหลักสูตรฉบับใหม่ และให้นักศึกษามีทักษะความเข้าใจ ในการเตรียมความพร้อมที่เพื่อการดำเนินการโครงงาน ตามหลักการทางการวิศวกรรมแม่พิมพ์ และสอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีอุตสาหกรรมที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
ปฏิบัติการเกี่ยวกับการค้นคว้าบทความ  งานวิจัย  สิ่งประดิษฐ์   นวัตกรรมหรืองานทางวิศวกรรมแม่พิมพ์   การตั้งชื่อโครงงาน   วิธีการเขียนรายงาน   ความเป็นมาของปัญหา   วัตถุประสงค์   ขอบเขต   ขั้นตอนและแผนการดำเนินงาน   การจัดเตรียมวัสดุและอุปกรณ์ การรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล การรายงานความก้าวหน้า   และการนำเสนอโครงงาน
1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
- มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
- มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพและมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพรวม ถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรม
โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลาตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย นักศึกษาต้องมีความรับผิดชอบโดยในการทำงานกลุ่มนั้นต้องฝึกให้รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่มมีความซื่อสัตย์โดยต้องไม่กระทำการทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านของผู้อื่น
- ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในภาคเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
- ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
- ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
- มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ ในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรมแม่พิมพ์
- สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบ การประยุกต์ทางปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี นอกจากนี้จัดให้มีการเรียนรู้จาก สถานการณ์จริงโดยการศึกษาจากผลงานวิจัย และสิ่งประดิษฐ์ที่มีการดำเนินงานมาแล้ว
การนำเสนอข้อมูลรายงานในชั้นเรียน ตามหลักการที่ถูกต้อง ชัดเจน
- มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม ในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์
- สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตและทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ
 
 
- ใช้กรณีศึกษาทางการประยุกต์ในสาขาวิศวกรรมแม่พิมพ์
- การอภิปรายกลุ่ม หรือการศึกษา ค้นคว้า รายงานทางเอกสารและรายงานหน้าชั้นเรียน
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษา
- รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม
- มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม
 
    
ใช้การสอนที่มีการกำหนดกิจกรรมให้มีการทำงานเป็นกลุ่ม การทำงานที่ต้องประสานงานกับผู้อื่น
หรือต้องค้นคว้าหาข้อมูลจากการสัมภาษณ์บุคคลอื่น
- ประเมินพฤติกรรมภาวการณ์เป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
- ติดตามการทำงานร่วมกับสมาชิกกลุ่มของนักศึกษาเป็นระยะ
- ประเมินจากผลงานการอภิปรายและเสวนา
- สังเกตพฤติกรรมการระดมสมอง
- มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์
- มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์

    
- จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่างๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลอง และสถานการณ์เสมือนจริง และนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสมเรียนรู้เทคนิค การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศในหลากลายสถานการณ์ที่สามารถประยุกต์ใช้ในห้องปฏิบัติการ
- ส่งเสริมการค้นคว้า เรียบเรียงข้อมูล และนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้ถูกต้อง และให้ความสำคัญในการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล
- เทคนิคการนำเสนอโดยใช้ทฤษฎีการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือคณิตศาสตร์และสถิติที่เกี่ยวข้องทางวิศวกรรมศาสตร์
- ความสามารถในการอธิบายถึงข้อจำกัด เหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือต่างๆ การอภิปราย กรณีศึกษาต่างๆ ที่มีการนำเสนอต่อชั้นเรียน
- มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ   
- การให้รวมกลุ่มและจัดทำแบบเสนอโครงงานด้านวิศวกรรมแม่พิมพ์
- การนำเสนอหัวข้อโครงงานด้านวิศวกรรมแม่พิมพ์
- สังเกตุพฤติกรรมการทำงานเป็นกลุ่ม
- การประเมินรูปแบบสื่อนำเสนอ การอธิบาย การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการบริหารเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการ เพื่อให้ได้โครงงานมีประสิทธิภาพ   
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพและมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพรวม ถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรม มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ ในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรมแม่พิมพ์ สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตและทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์ มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์ มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา การเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลาตลอดจนการแต่งกาย การอธิบายจรรยาบรรณทางวิชาการวิชาชีพ การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบ การประยุกต์ทางปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี นอกจากนี้จัดให้มีการเรียนรู้จาก สถานการณ์จริงโดยการศึกษาจากผลงานวิจัย และสิ่งประดิษฐ์ที่มีการดำเนินงานมาแล้ว ใช้กรณีศึกษาทางการประยุกต์ในสาขาวิศวกรรมแม่พิมพ์ การอภิปรายกลุ่ม หรือการศึกษา ค้นคว้า รายงานทางเอกสารและรายงานหน้าชั้นเรียน การกำหนดกิจกรรมให้มีการทำงานเป็นกลุ่ม การทำงานที่ต้องประสานงานกับผู้อื่น หรือต้องค้นคว้าหาข้อมูลจากการสัมภาษณ์บุคคลอื่น จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่างๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์ จำลอง และสถานการณ์เสมือนจริง และนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสมเรียนรู้เทคนิค การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศในหลากลายสถานการณ์ที่สามารถประยุกต์ใช้ในห้องปฏิบัติการ ส่งเสริมการค้นคว้า เรียบเรียงข้อมูล และนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้ถูกต้อง และ ให้ความสำคัญในการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล จัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์ จำลอง และสถานการณ์เสมือนจริง และนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสมเรียนรู้ นำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้ถูกต้อง และ ให้ความสำคัญในการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล - การให้รวมกลุ่มและจัดทำแบบเสนอโครงงานด้านวิศวกรรมแม่พิมพ์ - การนำเสนอหัวข้อโครงงานด้านวิศวกรรมแม่พิมพ์
1 ENGTD120 การเตรียมโครงงานวิศวกรรมแม่พิมพ์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 - มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม - มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพและมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพรวม ถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรม 1. ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในภาคเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม 2. ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ 3 ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ ในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรมแม่พิมพ์ ประเมินจากการนำเสนอข้อมูลรายงานในชั้นเรียน ตามหลักการที่ถูกต้อง ชัดเจน ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตและทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ 1 ใช้กรณีศึกษาทางการประยุกต์ในสาขาวิศวกรรมแม่พิมพ์ 2 การอภิปรายกลุ่ม หรือการศึกษา ค้นคว้า รายงานทางเอกสารและรายงานหน้าชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 20%
4 รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม 1 ประเมินพฤติกรรมภาวการณ์เป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี 2 ติดตามการทำงานร่วมกับสมาชิกกลุ่มของนักศึกษาเป็นระยะ 3 ประเมินจากผลงานการอภิปรายและเสวนา 4 สังเกตพฤติกรรมการระดมสมอง ตลอดภาคการศึกษา 15%
5 ● มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์ ● มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์ 1 ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอโดยใช้ทฤษฎีการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือคณิตศาสตร์และสถิติที่เกี่ยวข้องทางวิศวกรรมศาสตร์ 2 ประเมินจากความสามารถในการอธิบายถึงข้อจำกัด เหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือต่างๆ การอภิปราย กรณีศึกษาต่างๆ ที่มีการนำเสนอต่อชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 15%
6 ● มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1 การประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงาน 2 มีการประเมินโครงงานของนักศึกษา ตลอดภาคการศึกษา 20%
- ศุภชัย อัครนรากุล.เอกสารประกอบการสอนวิชาการเตรียมโครงงาน.สาขาวิศวกรรมแม่พิมพ์.มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา.2560. - คู่มือจัดทำปริญญานิพนธ์.คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา.2555.
เอกสารปริญญานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์ ด้านงานวิศวกรรมแม่พิมพ์ หลักสูตร วศ.บ.แม่พิมพ์ มทร.ล้านนา
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น http://library.rmutl.ac.th/ 
การสนทนาระหว่างผู้สอนและผู้เรียน การประเมินผู้สอน และการเสนอแนะของนักศึกษา
2.1   การสังเกตการณ์สอน 2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน (ถ้ามี)
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร 4.2   ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
ปรับปรุงรายละเอียดการสอน หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์