การจัดการขาย

Sale Management

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาท และความสำคัญของการจัดองค์กรฝ่ายขาย ความสัมพันธ์ของฝ่ายขายกับหน่วยงานอื่น ๆ ของธุรกิจ การกำหนดหน้าที่และความรับผิดชอบของผู้จัดการฝ่ายขายและพนักงานขาย การบริหารงานบุคคล   ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับฝ่ายขาย การกระตุ้นการขาย การกำหนดอาณาเขตการขาย การควบคุม และการประเมินผลของพนักงานฝ่ายขาย
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาท และความสำคัญของการจัดองค์กรฝ่ายขาย ความสัมพันธ์ของฝ่ายขายกับหน่วยงานอื่น ๆ ของธุรกิจ การกำหนดหน้าที่และความรับผิดชอบของผู้จัดการฝ่ายขายและพนักงานขาย การบริหารงานบุคคล   ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับฝ่ายขาย การกระตุ้นการขาย การกำหนดอาณาเขตการขาย การควบคุม และการประเมินผลของพนักงานฝ่ายขาย
ศึกษาบทบาท และความสำคัญของการจัดองค์กรฝ่ายขาย ความสัมพันธ์ของฝ่ายขายกับหน่วยงานอื่น ๆ ของธุรกิจ การกำหนดหน้าที่และความรับผิดชอบของผู้จัดการฝ่ายขายและพนักงานขาย การบริหารงานบุคคล   ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับฝ่ายขาย การกระตุ้นการขาย การกำหนดอาณาเขตการขาย การควบคุม และการประเมินผลของพนักงานฝ่ายขาย
  -   อาจารย์ประจำรายวิชาประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านทาง Social Network ได้แก่ Facebook Line
  -   อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1   มีความรู้ความเข้าใจในหลักจริยธรรม คุณธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพทางธุรกิจมีจิตสำนึกสาธารณะตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรมเสียสละ ไม่เอารัดเอาเปรียบซื่อสัตย์สุจริตทั้งต่อตนเองและผู้อื่น
1.2   มีความพอเพียงมีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม มีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม
1.2.1 บรรยายสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรม
1.2.2 ให้ความสำคัญในด้านระเบียบวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด
1.3.1 ประเมินจากการส่งงานตรงตามเวลาที่กำหนด
1.3.2 ประเมินจากการเข้าชั้นเรียน การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียน และการส่งงานตรงเวลา
1.3.3 ประเมินจากการเข้าร่วมกิจกรรม และการส่งรายงานของนักศึกษา
2.2   มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและการดำรงชีวิตประจำวัน
ใช้การสอนหลายรูปแบบ ตามลักษณะของเนื้อหารายวิชา โดยเน้นหลักของทฤษฎี และปฏิบัติเพื่อให้เกิดองค์ความรู้ จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มอบหมายให้ทำรายงานกลุ่ม การนำเสนอหน้าชั้นเรียน และการออกร้านจำหน่ายสินค้าในโครงการที่นักศึกษาร่วมกันจัดขึ้น (ประมาณสัปดาห์ที่ 16 ของการเรียน)
2.3.1 ประเมินจากแบบทดสอบด้านทฤษฎี สำหรับการปฏิบัติประเมินผลจากผลงานและการปฏิบัติงานที่มอบหมาย
2.3.2 ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น การบ้าน งานที่มอบหมาย รายงาน  การทดสอบย่อย (แบบฝึกหัดท้ายบท) การค้นคว้า การนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน การปฏิบัติโดยการออกร้านจำหน่ายสินค้าในโครงการที่นักศึกษาร่วมกันจัดขึ้น
3.3  คิดอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ สร้างสรรค์ และมีเหตุผล สามารถบูรณาการความรู้จากสาขาวิชาชีพที่ศึกษา และประสบการณ์เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาทางธุรกิจและสถานการณ์ทั่วไป
3.2.1 การออกร้านจำหน่ายสินค้าในโครงการที่นักศึกษาร่วมกันจัดขึ้น (ประมาณสัปดาห์ที่ 16 ของการเรียน) 
3.2.3 การสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ที่เปิดโอกาสให้นักศึกษามีส่วนร่วมในชั้นเรียน และมีการอภิปรายแสดงความคิดเห็น  
 
 
3.3.1 ประเมินจากการออกร้านจำหน่ายสินค้าในโครงการที่นักศึกษาร่วมกันจัดขึ้น (ประมาณสัปดาห์ที่ 16 ของการเรียน) 
3.3.2 ประเมินจากการรายงานการศึกษาค้นคว้าที่มอบหมายให้ส่ง
4.2  มีความสามารถในการแสดงความคิดริเริ่ม แสดงความคิดเห็นต่าง และแสดงความคิดเห็นใหม่ ๆ ได้อย่างสร้างสรรค์ เอื้อต่อการแก้ไขปัญหาของทีมสามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.4  มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
4.2.1 การออกร้านจำหน่ายสินค้าในโครงการที่นักศึกษาร่วมกันจัดขึ้น (ประมาณสัปดาห์ที่ 16 ของการเรียน) 
4.2.2 กำหนดการทำงานกลุ่ม โดยให้หมุนเวียนการเป็นผู้นำ การเป็นสมาชิกกลุ่ม และผลัด กันเป็นผู้รายงาน
4.2.3 ให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ
4.2.4 ใช้วิธีการสอนแบบเปิดโอกาสในการแสดงความคิดเห็นแบบระดมสมอง (Brainstorming) เพื่อส่งเสริมการเคารพสิทธิ และการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
4.3.1 ประเมินจากการออกร้านจำหน่ายสินค้าในโครงการที่นักศึกษาร่วมกันจัดขึ้น (ประมาณสัปดาห์ที่ 16 ของการเรียน) 
4.3.2 ประเมินจากการรายงานหน้าชั้นเรียน
4.3.3 ประเมินพฤติกรรม ภาวการณ์เป็นผู้นำ และผู้ตามที่ดี
4.3.4 สังเกตพฤติกรรมการระดมสมอง (Brainstorming)
4.3.5 ติดตามการทำงานร่วมกับสมาชิกกลุ่มของนักศึกษาเป็นระยะตามลักษณะงาน
5.2  สามารถสื่อสารเพื่ออธิบาย และสร้างความเข้าใจ โดยใช้รูปแบบของสื่อเทคนิควิธีการ เครื่องมือสื่อสารและเทคโนโลยีได้อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยวาจาที่เหมาะสมอย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์
5.3  สามารถสื่อสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศที่จำเป็นต่อการทำธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1 การใช้ศักยภาพทางคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศในการงานที่ได้รับ มอบหมาย
5.2.2 ส่งเสริมการค้นคว้า เรียบเรียงข้อมูลและนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้ถูกต้องและให้ ความสำคัญในการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล
5.2.3 การนำเสนองานหน้าชั้นเรียน
5.2.4 การออกร้านจำหน่ายสินค้าในโครงการที่นักศึกษาร่วมกันจัดขึ้น (ประมาณสัปดาห์ที่ 16 ของการเรียน) 
5.3.1 ประเมินจากผลงาน / กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์เชิงตัวเลข
5.3.2 ประเมินผลงานการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศที่มอบหมายแต่ละบุคคล
5.3.3 ประเมินทักษะการสื่อสารด้วยภาษา จากการนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน
5.3.4 ประเมินจากการออกร้านจำหน่ายสินค้าในโครงการที่นักศึกษาร่วมกันจัดขึ้น (ประมาณสัปดาห์ที่ 16 ของการเรียน) 
6.1  สามารถปฏิบัติงานโดยนำองค์ความรู้มาบูรณาการร่วมกับศาสตร์ที่ศึกษาได้อย่างเหมาะสม
การออกร้านจำหน่ายสินค้าในโครงการที่นักศึกษาร่วมกันจัดขึ้น (ประมาณสัปดาห์ที่ 16 ของการเรียน) 
ประเมินจากการออกร้านจำหน่ายสินค้าในโครงการที่นักศึกษาร่วมกันจัดขึ้น (ประมาณสัปดาห์ที่ 16 ของการเรียน) 
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ (Hands On)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5
1 BBABA615 การจัดการขาย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.2 สอบกลางภาค และสอบปลายภาค 9 และ 18 30% และ 30% รวม 60%
2 1.1, 1.2, 3.3, 4.1, 5.3 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
3 1.2, 2.2, 3.3 การทำแบบฝึกหัดท้ายบท ตลอดภาคการศึกษา 10%
4 1.1, 1.2, 2.2, 3.3, 4.1, 5.2, 5.3, 6.1 การออกร้านจำหน่ายสินค้าในโครงการที่นักศึกษาร่วมกันจัดขึ้น 16 20%
ญาดา คำลือมี. (2562). ตำราวิชาการจัดการการขาย. ลำปาง: สาขาวิชาการตลาด คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง.
พัฒนา ศิริโชติบัณฑิต. (2559). การจัดการขาย. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัด ซี แอนด์เอ็น บุ๊ค.
คำนาย อภิปรัชญาสกุล. (2557). การจัดการขาย. กรุงเทพฯ: บริษัท โฟกัสมีเดีย แอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด.
สุวสา  ชัยสุรัตน์. (2537). การจัดการขาย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ภูมิบัณฑิต.
นิติพล  ภูตะโชติ. (2549). การบริหารการขาย. กรุงเทพฯ: บริษัท ส.เอเซียเพรส(1989)จำกัด.
วันทิพย์  สินสูงสุด. (2546). ยอดนักขาย. พิมพ์ครั้งที่8. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มิตรภาพ.
สุปัญญา  ไชยชาญ. (2544). การบริหารการขาย. พิมพ์ครั้งที่8. กรุงเทพฯ: บริษัท พี.เอ.ลีฟวิ่ง จำกัด.
อนุวัฒน์  มลายอริศูนย์. (2545). สุดยอดศิลปการขาย. กรุงเทพฯ:  ห้างหุ้นส่วนจำกัดภาพพิมพ์.
อมร  ถาวรมาศ. (2549). คลีนิกเพื่อนนักขาย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ดอกหญ้ากรุ๊ป.
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน  แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา

 ข้อเสนอแนะผ่านสื่อออนไลน์ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ ตามมคอ.5 จากปีการศึกษาที่ 2/2561
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง การปฏิบัติโดยการให้นักศึกษาออกร้านจำหน่ายสินค้าในโครงการที่นักศึกษาร่วมกันจัดขึ้น และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา
4.2   มีการตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   ปรับปรุงรายวิชาเพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหา