การบรรจุภัณฑ์

Packaging

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจถึงบทบาทและหน้าที่ของบรรจุภัณฑ์ ลักษณะของบรรจุภัณฑ์เพื่อการตลาด ประเภทต่าง ๆ ของบรรจุภัณฑ์ ปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการเลือกบรรจุภัณฑ์ ข้อจำกัดในด้านเศรษฐศาสตร์ การผลิต กฎหมาย มลภาวะ การออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่ผลิตขึ้นจากวัสดุชนิดต่าง ๆ การบรรจุภัณฑ์เพื่อการส่งออก
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจถึงบทบาทและหน้าที่ของบรรจุภัณฑ์ ลักษณะของบรรจุภัณฑ์เพื่อการตลาด ประเภทต่าง ๆ ของบรรจุภัณฑ์ ปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการเลือกบรรจุภัณฑ์ ข้อจำกัดในด้านเศรษฐศาสตร์ การผลิต กฎหมาย มลภาวะ การออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่ผลิตขึ้นจากวัสดุชนิดต่าง ๆ การบรรจุภัณฑ์เพื่อการส่งออก
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจถึงบทบาทและหน้าที่ของบรรจุภัณฑ์ ลักษณะของบรรจุภัณฑ์เพื่อการตลาด ประเภทต่าง ๆ ของบรรจุภัณฑ์ ปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการเลือกบรรจุภัณฑ์ ข้อจำกัดในด้านเศรษฐศาสตร์ การผลิต กฎหมาย มลภาวะ การออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่ผลิตขึ้นจากวัสดุชนิดต่าง ๆ การบรรจุภัณฑ์เพื่อการส่งออก
อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านทาง Facebook อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1   มีความรู้ความเข้าใจในหลักจริยธรรม คุณธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพทางธุรกิจมีจิตสำนึกสาธารณะตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรมเสียสละ ไม่เอารัดเอาเปรียบซื่อสัตย์สุจริตทั้งต่อตนเองและผู้อื่น
1.2   มีความพอเพียงมีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม มีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม
1.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษาเกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการบรรจุภัณฑ์ โดยมีวัตถุประสงค์คำนึงถึงความปลอดภัยของผู้บริโภค และคำนึงถึงสิ่งแวดล้อม
1.2.2 ให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูล และอภิปรายกลุ่ม
1.2.3 ผู้สอนสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม และปลูกฝังจรรยาบรรณวิชาชีพจากกรณีศึกษาทางด้านการบรรจุภัณฑ์
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่กำหนด
1.3.2 การนำเสนอข้อมูลที่กลุ่มได้ค้นคว้ามาอภิปรายหน้าชั้นเรียน โดยมีการอ้างอิงเอกสารหรือข้อมูลที่ได้ทำการศึกษาค้นคว้าอย่างถูกต้องและชัดเจน
2.1   มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญในเนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษาสามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง
2.3   มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญเกี่ยวกับกระบวนการบริหารธุรกิจ ในด้านการวางแผน การจัดโครงสร้างองค์การ การปฏิบัติการ การควบคุมและการผลการดำเนินงาน รวมทั้งการปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์
ใช้การสอนภาคบรรยาย และภาคปฏิบัติ การอภิปราย การมอบหมายให้ศึกษาค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอรายงานกลุ่ม การทบทวนความรู้ความเข้าใจด้วยการฝึกปฏิบัติและออกแบบบรรจุภัณฑ์พร้อมการนำเสนอสำหรับการออกร้านจำหน่ายสินค้าในโครงการที่นักศึกษาร่วมกันจัดขึ้น และมีการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1 ทดสอบย่อย (แบบฝึกหัดท้ายบทแต่ละบท) การสอบกลางภาค และการสอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดความรู้ ความเข้าใจ การวิเคราะห์ และการนำไปใช้
2.3.2 ประเมินจากการนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้าข้อมูล และการอภิปรายหน้าชั้นเรียน
2.3.3 ประเมินชิ้นงานการออกแบบบรรจุภัณฑ์ และการนำเสนอผลงานสำหรับการออกร้านจำหน่ายสินค้าในโครงการที่นักศึกษาร่วมกันจัดขึ้น โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
3.2  สามารถคิดค้นทางเลือก วิเคราะห์ทางเลือกและผลกระทบ จากทางเลือกอย่างรอบด้าน มีความสามารถในการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่สอดคล้องกับสถานการณ์ ทำให้เกิดการได้เปรียบทางการแข่งหันทางธุรกิจ
3.3  คิดอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ สร้างสรรค์ และมีเหตุผล สามารถบูรณาการความรู้จากสาขาวิชาชีพที่ศึกษา และประสบการณ์เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาทางธุรกิจและสถานการณ์ทั่วไป
3.2.1 มอบหมายให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติการ หรือทำรายงานกลุ่มที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ตลอดนำเสนอผลงานสำหรับการออกร้านจำหน่ายสินค้าในโครงการที่นักศึกษาร่วมกันจัดขึ้น
3.2.2 วิเคราะห์ข้อมูล และอภิปรายกลุ่ม
3.3.1 ประเมินชิ้นงานการออกแบบบรรจุภัณฑ์ และการนำเสนอผลงานสำหรับการออกร้านจำหน่ายสินค้าในโครงการที่นักศึกษาร่วมกันจัดขึ้น 
3.3.2 ประเมินจากการนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้าข้อมูล และการอภิปรายหน้าชั้นเรียน 
4.1  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมอย่างมีความรับผิดชอบ ยอมรับฟัง และเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม และสามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพได้
4.4  มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
4.2.1 กิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์ข้อมูล และการอภิปรายหน้าชั้นเรียน
4.2.2 มอบหมายการทำงานกลุ่ม และงานรายบุคคล เช่น การศึกษาค้นคว้าความก้าวหน้าของเทคโนโลยีการพิมพ์ และการบรรจุภัณฑ์ ความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบบรรจุภัณฑ์
 4.2.3 การออกร้านจำหน่ายสินค้าในโครงการที่นักศึกษาร่วมกันจัดขึ้น
4.3.1 ประเมินผลจากพฤติกรรมการทำงานเป็นทีม และงานรายบุคคล
4.3.2 ประเมินจากการนำเสนอหน้าชั้นเรียน และพฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3 ประเมินจากแบบฝึกหัด และรายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
5.2  สามารถสื่อสารเพื่ออธิบาย และสร้างความเข้าใจ โดยใช้รูปแบบของสื่อเทคนิควิธีการ เครื่องมือสื่อสารและเทคโนโลยีได้อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยวาจาที่เหมาะสมอย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์
5.3  สามารถสื่อสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศที่จำเป็นต่อการทำธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจากฐานข้อมูลทางการตลาดผ่านสื่อต่างๆ
5.2.2 นำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบของสื่อ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากการเขียนรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปราย และการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
6.1  สามารถปฏิบัติงานโดยนำองค์ความรู้มาบูรณาการร่วมกับศาสตร์ที่ศึกษาได้อย่างเหมาะสม
ใช้การสอนภาคบรรยาย และภาคปฏิบัติ การอภิปราย การมอบหมายให้ศึกษาค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอรายงานกลุ่ม การทบทวนความรู้ความเข้าใจด้วยการฝึกปฏิบัติและออกแบบบรรจุภัณฑ์พร้อมการนำเสนอสำหรับการออกร้านจำหน่ายสินค้าในโครงการที่นักศึกษาร่วมกันจัดขึ้น
ประเมินชิ้นงานการออกแบบบรรจุภัณฑ์ และการนำเสนอผลงานสำหรับการออกร้านจำหน่ายสินค้าในโครงการที่นักศึกษาร่วมกันจัดขึ้น
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ (Hands On)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5
1 BBABA618 การบรรจุภัณฑ์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1, 2.3 สอบกลางภาค และสอบปลายภาค 9 และ 18 30% และ 30% รวม 60%
2 1.2, 2.1, 2.3 ทดสอบย่อยท้ายบท (แบบฝึกหัดท้ายบท) ตลอดภาคการศึกษา 10%
3 1.1, 1.2, 2.1, 2.3, 3.2, 3.3, 4.1, 4.4, 5.2, 5.3, 6.1 การศึกษาค้นคว้า และวิเคราะห์กรณีศึกษาอภิปรายกลุ่ม การทำงานกลุ่ม นำเสนอผลงาน การส่งงานตามมอบหมาย และการออกร้านจำหน่ายสินค้าในโครงการที่นักศึกษาร่วมกันจัดขึ้น ตลอดภาคการศึกษา และในโครงการที่นักศึกษาร่วมกันจัดขึ้น 20%
4 2.1, 2.3, 3.2, 3.3, 4.4, 5.2, 5.3, 6.1 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วมการถาม – ตอบระหว่างเรียน การเสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
สุภาภรณ์ ธีระจันทร์. (2559). การบรรจุภัณฑ์. กรุงเทพฯ: บริษัท สุภัชนิญค์ พริ้นติ้ง กรุ๊ป จำกัด.
ก่อเกียรติ วิริยะกิจพัฒนา และเตชา อัศวสิทธิถาวร. (2553). การบรรจุภัณฑ์. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์วังอักษร.
คำนาย อภิปรัชญาสกุล. (2553). ระบบบรรจุภัณฑ์ในงานโลจิสติกส์. กรุงเทพฯ: บริษัท โฟกัสมีเดีย แอนด์ พับลิซซิ่ง จำกัด.
วรรณชนก จอมราชคม และปณิตา สนอ่วม. (2552). การบรรจุภัณฑ์. กรุงเทพฯ: ศูนย์ส่งเสริมอาชีวะ.
การประเมินประสิทธิผลของรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิด และความเห็นจากนักศึกษา ดังนี้

การถาม – ตอบระหว่างเรียนการสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน ผลการเรียนของนักศึกษา ข้อเสนอแนะผ่านการประเมินการสอนของอาจารย์ประจำวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนได้มีกลยุทธ์ ดังนี้

การสังเกตการสอน ความร่วมมือของนักศึกษา ผลการเรียนของนักศึกษา การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากประเมินผลการสอน จึงมีการปรับปรุงโดยการจัดกิจกรรม หากรณีศึกษาในการอภิปรายระหว่างผู้สอนและผู้เรียน และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ที่ได้จากการสอบถามนักศึกษา หรือตรวจงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการนำเสนอผลงาน และหลังผลการเรียนของรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้

การทวนสอบการให้คะแนนจากการตรวจงานของนักศึกษาทั้งงานกลุ่มและงานรายบุคคล ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยตรวจข้อสอบ  รายงาน  วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
ผลการประเมินและการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ และประสิทธิผลรายวิชาโดยมีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้นดังนี้

ปรับปรุงรายวิชาตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ ตามข้อ 4 ผู้สอนต้องมีความกระตือรือร้นในการค้นหาข้อมูล หรือกรณีศึกษาใหม่ๆ ให้แก่นักศึกษาอย่างสม่ำเสมอ