คอมพิวเตอร์ในงานออกแบบและเขียนแบบ

Computer Aided Design

เพื่อใช้นักศึกษาฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์ในการเขียนแบบชิ้นส่วนเครื่องจักรกล 2 มิติ การใช้คำสั่งเกี่ยวกับการแก้ไขแบบ  การเขียนตัวอักษร   สัญลักษณ์ การใช้ขนาด การเขียนตารางรายการวัสดุ  การเขียนภาพประกอบ  ภาพแยกชิ้น  การเขียนภาพ 3 มิติ  การพิมพ์งานหรือพล๊อตงานได้
1.เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และทักษะความเข้าใจเกี่ยวกับการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการออกแบบเขียนแบบ
2. เพื่อให้นักศึกษาสามารถใช้โปรแกรมด้วยคอมพิวเตอร์ในการเขียนแบบตามมาตรฐานสากลได้
3. เพื่อให้นักศึกษาสามารถสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการเขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์กับงานในเขียนแบบชิ้นส่วนเครื่องจักรกลได้
ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์ในการเขียนแบบชิ้นส่วนเครื่องจักรกล 2 มิติ การใช้คำสั่งเกี่ยวกับการแก้ไขแบบ  การเขียนตัวอักษร   สัญลักษณ์ การใช้ขนาด การเขียนตารางรายการวัสดุ  การเขียนภาพประกอบ  ภาพแยกชิ้น  การเขียนภาพ 3 มิติ  การพิมพ์งานหรือพล๊อตงาน
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ คำนึงถึงความซื่อสัตย์ในการใช้คอมพิวเตอร์ในการออกแบบและเขียนแบบเชิงวิศวกรรมโดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร 
1.2.1 สอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรม(ตามข้อ 1.1)ในการเรียนการสอนโดยยกตัวอย่างกรณีศึกษา
ใช้ระบบการส่งงานที่ตรงเวลาเป็นวิธีการสอนการ มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2   สอบวัดความรู้กลางภาคและปลายภาคการศึกษา
มีความรู้ในการใช้คอมพิวเตอร์ในการออแบบและเขียนแบบทางวิศวกรรม โดยอ้างอิงมาตรฐานหลักการเขียนแบบทางวิศวกรรมที่ถูกต้องตามหลักสากล สามารถปรับรูปแบบการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เขียนแบบทางวิศวกรรมให้เข้ากับมาตรฐานสากล เช่น มาตรฐาน ISOมาตรฐาน ANSI เป็นต้น
สาธิตและแสดงตัวอย่างการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการออกแบบและเขียนแบบทางวิศวกรรม   ให้นักศึกษาทดลองทำตามแบบฝึกหัด(Quiz)ในชั่วโมงปฏิบัติร่วมกับการทำการบ้าน(Home Work)ส่งในทุกสัปดาห์ เน้นความเข้าใจของผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1   ผลการทำแบบฝึกหัด(Quiz)และการบ้าน (Home Work)ในชั้นเรียน
2.3.2   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการทฤษฏีและทักษะฝีมือในการใช้คอมพิวเตอร์สำหรับออกแบบและเขียนแบบทางวิศวกรรม
               3.1.1พัฒนาทักษะในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับการออกแบบและเขียนแบบทางวิศวกรรม
3.1.2 พัฒนาทักษะเทคโนโลยีในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการเขียนแบบ
3.1.3 พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ และสามารถตกผลึกทางความคิดได้
3.2.1 ฝึกการใช้คำสั่งสำหรับการสร้างรูปทรงทางเรขาคณิต 2  มิติ
3.2.2 ฝึกปฏิบัติการการขึ้นรูปชิ้นงาน 3  มิติการประกอบงาน การทำแบบสั่งงาน ตามหลักสากลจากแบบฝึกหัดในชั้นเรียน(Quiz)และการบ้าน(Home Work)ที่จัดเตรียมไว้ให้ในแต่ละสัปดาห์
   3.2.3 สอนโดยการแสดงการขั้นตอนการขึ้นรูปชิ้นงานตามตัวอย่างโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สร้างรูป 3 มิติ ช่วยอธิบาย
               3.3.1   สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวัดทักษะ ฝีมือ ความถูกต้อง และความเข้าในการเขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์
3.3.2   วัดผลจากการผลงานที่ได้รับ(Quiz และ Home Work)
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2   พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1   มอบหมายงานรายบุคคลและเป็นโจทย์ที่เหมือนกัน เพื่อให้เกิดการแบ่งปันความรู้ซึ่งกันและกัน มีการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและสร้างความรับผิดชอบร่วมกัน
4.3.1   วัดผลจากการผลงานที่ได้รับ(Quiz และ Home Work)
5.1.1   ทักษะการคิดคำนวณเชิงตัวเลข เช่น การเทียบขนาด(scale)การหาระยะจริง(True length)การหาพื้นที่จริง (True side)เป็นต้น
5.2.1   การเรียนรู้โดยการลงมือปฏิบัติ(Learning by Doing )ผ่านแบบฝึกหัดและการบ้าน
5.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวัดทักษะ ฝีมือ ความปราณีต และความเข้าในการเขียนแบบทางวิศวกรรม
5.3.2   วัดผลจากการผลงานที่ได้รับ(Quiz และ Home Work)
(1) มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่าง ๆ ให้นักศึกษาได้ลงมือปฏิบัติจริง โดยใช้ความรู้จากวิชาต่าง ๆ ที่เรียนมา การวิเคราะห์เพื่อแก้ปัญหา เพื่อให้เกิดการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย ดังข้อ
ต่อไปนี้
       (1) สร้างทักษะในการปฏิบัติงาน
       (2) สาธิตการปฏิบัติการโดยผู้เชี่ยวชาญ
(1) มีการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงาน
       (2)  มีการประเมินผลการทำงานในภาคปฏิบัติ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1-2 3- 7 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 4 8 12 16 10% 25% 10% 25%
2 1-6 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 1 1,2,3,4,5,6 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดการศึกษา 20%
ทวีศักดิ์   ศรีช่วย, SolidWorks 2009 Handbook, สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย – ญี่ปุ่น) กรุงเทพฯ. 2552
          สมหมาย   สารมาท, เอกสารประกอบการสอนเขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์,มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา  เชียงใหม่ .2557
Boundy, A.W.(Albert William), Engineering Drawing, McGraw-Hill Book Company Australia Pty Limited,5th ed.1998
SolidWorks Essentials Drawing, SolidWorks Corporating.2012
SolidWorks Essentials  Part and Assembly, SolidWorks Corporating.2012
SolidworksWeldments, SolidWorks Corporating.2012
Solidworks  Sheet Metal, SolidWorks Corporating.2012
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ