คอมพิวเตอร์ช่วยในงานวิศวกรรม

Computer Aided Engineering

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะเกี่ยวกับหลักการทั่วไปในการวิเคราะห์ชิ้นงานด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การวิเคราะห์ชิ้นงานพลาสติก การวิเคราะห์ชิ้นงานโลหะ การวิเคราะห์การไหล การประยุกต์ใช้งานข้อมูลจากการวิเคราะห์
2.1 เพื่อให้นักศึกษารู้และเข้าใจหลักการวิเคราะห์ชิ้นงานด้วยคอมพิวเตอร์
2.2 เพื่อให้นักศึกษารู้และเข้าใจคำสั่งพื้นฐานในการวิเคราะห์ชิ้นงานด้วยคอมพิวเตอร์
2.3 เพื่อให้นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ชิ้นงานพลาสติก
2.4 เพื่อให้นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ชิ้นงานโลหะ
2.4 เพื่อให้นักศึกษาสามารถวิเคราะห์การไหล
2.6 เพื่อให้นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้งานข้อมูลจากการวิเคราะห์ได้
ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับหลักการทั่วไปในการวิเคราะห์ชิ้นงานด้วยโปรแกรม
คอมพิวเตอร์ การวิเคราะห์ชิ้นงานพลาสติก การวิเคราะห์ชิ้นงานโลหะ การวิเคราะห์การไหล การประยุกต์ใช้งานข้อมูลจากการวิเคราะห์ Study and practice of computer aided engineering, plastic and metal part analysis, plastic and metal flow analysis, and application of part and flow analysis. Data.
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านไลน์ และเฟสบุ้คกลุ่ม
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
● มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
○ มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
- บรรยายและยกตัวอย่างกรณีศึกษาเกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรม การมีวินัย ตรงต่อเวลา
และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและ
สังคม
- กำหนดให้นักศึกษาทำงานตามที่มอบหมาย แล้วส่งตามเวลาที่กำหนดพร้อมทั้งมีการนำเสนอผลการปฏิบัติงาน
- ให้ศึกษาค้นคว้าและทำรายงานในหัวข้อที่กำหนดให้
- พฤติกรรมการเข้าเรียน การร่วมกิจกรรมและส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
- มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
- ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
- ประเมินผลการออกแบบและเขียนแบบชิ้นงานที่มอบหมาย
● มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐาน และเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี
● มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม
○ สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
- บรรยายเนื้อหารายวิชา
- ยกตัวอย่างชิ้นงานที่จะออกแบบและเขียนแบบ
- กำหนดให้นักศึกษาทำงานตามที่มอบหมาย
- ศึกษาค้นคว้าและทำรายงานเพิ่มเติม
-สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบ
-ตรวจรายงาน และงานที่มอบหมาย
-ประเมินผลการออกแบบและเขียนแบบชิ้นงานที่มอบหมาย
-ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
● มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี ● สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบรวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- บรรยายเนื้อหารายวิชา
- การทำงานตามแบบฝึกหัดที่มอบหมาย
- การนำเสนอและอภิปรายในรายงานที่ทำ
-สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบ
-ตรวจรายงาน และงานที่มอบหมาย
-ประเมินผลการเขียนแบบที่มอบหมาย
-ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
● รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพรวมถึงสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
● มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม
- จัดกิจกรรมกลุ่ม มอบหมายงานรายกลุ่ม และรายงานเดี่ยว การนำเสนอและอภิปราย เช่น การสร้างกระบวนการต่างๆ ของการนำเสนอรายงาน การเขียนแบบ และการวิเคราะห์แบบ
- รายงานที่นำเสนอ และสังเกตพฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
● มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี
● มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์ หรือการแสดงสถิติ ประยุกต์ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์
○ สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
● มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์
● สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้
- จัดกิจกรรมกลุ่ม มอบหมายงานรายกลุ่ม รายงานเดี่ยว การนำเสนอและอภิปราย เช่น การสร้างกระบวนการต่างๆ ของการควบคุมและบำรุงรักษาชิ้นงาน
- สาธิตการใช้โปรแกรมช่วยงานออกแบบและเขียนแบบ ทำงานออแบบและเขียนแบบจริง
- ให้ทำการออกแบบและเขียนแบบจากชิ้นงานจริง
- รายงานที่นำเสนอ และพฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
- สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบ
- ตรวจประเมินจากแบบงานที่ออกแบบและเขียนแบบ
● มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
● มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
- มอบหมายงานให้นักศึกษาปฏิบัติทั้งการศึกษาค้นคว้า การทำรายงานเดี่ยว กลุ่ม การเขียนแบบแม่พิมพ์ การวิเคราะห์แบบและการนำเสนอ
- รายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงาน แบบแม่พิมพ์ที่เขียน
- ใบงานและแบบฝึกหัด
- สอบกลางภาค และปลายภาค
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6 ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 2 3 2 3 4 5 1 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2
1 ENGTD114 คอมพิวเตอร์ช่วยในงานวิศวกรรม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1,1.6, 1.7, 2.1, 2.4 – 2.6, 3.2 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 4 8 12 16 10% 25% 10% 25%
2 1.1,1.6, 1.7,2.1, 2.4 – 2.6, 3.2,4.1 – 4.6,5.3-5.4 6.1 6.2 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 1.1 – 1.7, 3.1 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
เอกสารประกอบการสอน การออกแบบและเขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์ AutoCAD User Manual. CadMold User Manual VISI

DYNAFORM
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้

การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน ผลการเรียนของนักศึกษา การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้

สัมมนาการจัดการเรียนการสอน การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้

การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้

ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ