การพิมพ์ออฟเซต 2

Offset Printing 2

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับ  การปรับตั้งแรงกดของหน่วยน้ำ และ หน่วยหมึก น้ำยาฟาว์นเทน ความสัมพันธ์ระหว่างน้ำยาฟาว์นเทนกับหมึก  แถบควบคุมคุณภาพงานพิมพ์  โครงสร้างและประเภทของเครื่องพิมพ์ออฟเซตป้อนม้วน ปฏิบัติการพิมพ์ภาพพื้นตายและพิมพ์หนังสือเป็นยก
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน ในการปรับตั้งแรงกดของหน่วยน้ำ และ หน่วยหมึก  มีความเข้าใจเรื่องน้ำยาฟาว์นเทนและความสัมพันธ์ระหว่างน้ำยาฟาว์นเทนกับหมึก  การใช้แถบควบคุมคุณภาพงานพิมพ์  รู้จักโครงสร้างและประเภทของเครื่องพิมพ์ออฟเซตป้อนม้วน มีทักษะในปฏิบัติการพิมพ์ภาพพื้นตายและพิมพ์หนังสือเป็นยก
ศึกษาการปรับตั้งแรงกดของหน่วยน้ำ และ หน่วยหมึก น้ำยาฟาว์นเทน ความสัมพันธ์ระหว่างน้ำยาฟาว์นเทนกับหมึก  แถบควบคุมคุณภาพงานพิมพ์  ศึกษาโครงสร้างและประเภทของเครื่องพิมพ์ออฟเซตป้อนม้วน ปฏิบัติการพิมพ์ภาพพื้นตายและพิมพ์หนังสือเป็นยก
 -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความซื้อสัตย์สุจริต ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ เคารพ
กฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ของสังคมและองค์กร  มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิส่วนบุคคล
1. มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
2. มีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
3. มีความตรงต่อเวลา ปฏิบัติตามระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม
4. เคารพสิทธิของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
5. มีการพัฒนาตนเอง วิชาชีพ  บุคลิกภาพและวิสัยทัศน์ให้ทันต่อการพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอยู่เสมอ
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับมีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพมีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคมมีความตรงต่อเวลา ปฏิบัติตามระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม
1.  พฤติกรรมการตรงต่อเวลา ปฏิบัติตามระเบียบและข้อบังคับของสถาบัน
2.   มีการเคารพสิทธิของผู้อื่น
3   มีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.  มีความรู้และความเข้าใจในหลักการด้านการปรับตั้งแรงกดของหน่วยน้ำและหน่วยหมึก
2.  มีความรู้ในกระบวนการของน้ำยาฟาว์นเทน ความสัมพันธ์ระหว่างน้ำยาฟาว์นเทนกับหมึก 
3.  มีความรู้ในหลักการของแถบควบคุมคุณภาพงานพิมพ์ 
4.  มีความรู้ในโครงสร้างและประเภทของเครื่องพิมพ์ออฟเซตป้อนม้วน
5.  สามารถนำความรู้ไปปฏิบัติการพิมพ์ภาพพื้นตายและพิมพ์หนังสือเป็นยก
1. ใช้การบรรยาย  โดยเน้นหลักทางทฤษฎีและการปฏิบัติ
2.  มอบหมายให้นักศึกษาทำรายงาน
3.  จัดกิจกรรมการเรียนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
4.  มอบหมายให้นักศึกษาทำโครงการ
สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
1. พัฒนาความคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ 
2.  สามารถแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้เป็นอย่างดี
3.  สามารถพัฒนาการคิดอย่างสร้างสรรค์ 
1.  การมอบหมายงานที่ส่งเสริมความคิดให้นักศึกษา 
2.  ส่งเสริมการเรียนรู้จากการแก้ไขปัญหา
3.   ให้นักศึกษาปฏิบัติการจากสถานการณ์จริง
1.   สอบกลางภาคและปลายภาค 
2.   วัดผลจากการประเมินในการนำเสนอผลงาน
3.   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
1.   มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย
2.   พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตาม ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.   มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้ด้วยตัวเอง และวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
1.   จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
2.  มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
3.   การนำเสนอรายงานที่ได้รับมอบหมาย
1.   ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
2.  ประเมินจากผลงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
3.  ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง   
1.   สามารถใช้ภาษาพูดและภาษาเขียนในการสื่อความหมายได้ถูกต้อง 
2   สามารถสรุปประเด็นจากการสื่อสารได้ถูกต้อง
3   สามารถการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสารที่เหมาะสม
4   สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตได้อย่างเหมาะสม
5   สามารถติดตามข้อมูลข่าวสาร ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
1.   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากแหล่งข้อมูลต่างๆในเว็บไซต์
2.   นำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมและมีศักยภาพ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ ระหว่างบุคล 5. ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่อสารฯ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3
1 44011009 การพิมพ์ออฟเซต 2
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1,1.2 2.1 –2.4 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 8 16 35% 35%
2 1.1,1.2, 2.1, 4.1 – 4.2 2.1 –5.4 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 1.1 – 1.5, 4.1 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
เอกสารการสอนรายวิชา กระบวนการพิมพ์พื้นนูนพื้นราบ   มสธ.
ไม่มี
วารสารในวงการพิมพ์  วารสารสมาคมส่งเสริมวิชาการพิมพ์  วารสารการพิมพ์ไทย
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้สอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ
4.2   มีการตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรมโดยคณะกรรมการในสาขาวิชา 
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะ
5.2   เปลี่ยนอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์