ความปลอดภัยทางวิศวกรรมไฟฟ้า

Electrical Engineering Safety

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานทางด้านคุณสมบัติของมาตรฐานไฟฟ้าและความปลอดภัยเป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญญา ในการนาความรู้ ความเข้าใจในหลักการและ ทฤษฎี เพื่อเป็นพื้นฐานในการเรียนวิชาอื่นๆที่เกี่ยวข้อง ผู้สอนควรมีการปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงเนื้อหารายวิชา แหล่งค้นคว้าข้อมูล ตัวอย่างผลงานและกรณีศึกษา ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ แนวโน้มด้านเทคโนโลยี และความต้องการของตลาดผู้บริโภคตามยุคสมัย
ศาสตร์และการพัฒนาทางมาตรฐานไฟฟ้าและความปลอดภัยมีการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงและมีหัวข้อศึกษาที่น่าสนใจที่ทันสมัยเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาความรู้ของนักศึกษาบางหัวข้ออาจไม่ถูกจัดในวิชาใดวิชาหนึ่งของหลักสูตรวิชามาตรฐานไฟฟ้าและความปลอดภัย ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อเสริมเพิ่มและเติมเต็มความรู้ในเรื่องเกี่ยวกับมาตรฐานไฟฟ้าและความปลอดภัย ทั้งด้านศาสตร์ทางวิชาการมาตรฐานไฟฟ้าและความปลอดภัยที่กาลังเป็นที่สนใจเพื่อพัฒนาให้นักศึกษามีความรู้และใส่ใจเรียนรู้อย่างต่อเนื่องและยังเป็นวิชาที่จะพัฒนาทักษะด้านมาตรฐานไฟฟ้าและความปลอดภัยให้แก่นักศึกษา
ศึกษาเกี่ยวกับ นโยบาย กฎหมายและมาตรฐานด้านความปลอดภัยทางวิศวกรรมไฟฟ้า อันตรายจากไฟฟ้า สาเหตุและการบาดเจ็บจากไฟฟ้า ไฟฟ้าดูด แรงดันย่างก้าวและแรงดันสัมผัส การปล่อยประจุไฟฟ้าสถิตย์ ประกายไฟจากอาร์กการแยกโดดทางไฟฟ้า การต่อลงดิน การต่อเชื่อม มาตรการป้องกันอันตรายจากไฟฟ้าและอุปกรณ์ป้องกันวงจร การทดสอบ การตรวจสอบและบำรุงรักษาด้านความปลอดภัยทางไฟฟ้า ข้อแนะนำในการปฏิบัติงานกับระบบไฟฟ้าแรงดันต่ำและแรงดันสูงเพื่อความปลอดภัย  
3
1 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ มีระเบียบวินัยและความ รับผิดชอบ 2 มีจิตสานึกตระหนักถึงผลกระทบในการอนุรักษ์ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
1. บรรยายพร้อมยกตัวอย่างประกอบ เพื่อให้นักศึกษาเกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเป้าหมายในชีวิต ระเบียบวินัยความรับผิดชอบ คุณธรรม จริยธรรม 2. อธิบายกฎระเบียบต่างๆ ที่นักศึกษาต้องปฏิบัติในการเรียนการสอนตลอดรายวิชา 3. กาหนดให้นักศึกษานั่งสมาธิในช่วงก่อนชั่วโมงบรรยาย เพื่อเป็นการพัฒนาจิตที่สงบ
1. พฤติกรรมในการเรียน การเข้าเรียนตรงเวลา ความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย 2. การแต่งกายเรียบร้อย ถูกต้องตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย 3. การเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ มีคุณธรรมและน้าใจช่วยเหลือสังคม
1. เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างการเปลี่ยนแปลงทางวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี สิ่งแวดล้อม 2 มีความรอบรู้ ปรับตัวให้ดารงชีวิตอยู่ได้อย่างมีความสุข 3. มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับใช้งานไมโครคอนโทรลเลอร์ทั้งทฤษฎีและปฏิบัติ 4. สามารถอธิบายกระบวนการทางเทคโนโลยีและนาไปประยุกต์ในชีวิตประจาวันได้ 5. สามารถติดตามความก้าวหน้าและวิวัฒนาการของเทคโนโลยี
1. กาหนดให้มีการสอบประเมินวัดความรู้พื้นฐานก่อนในช่วงสัปดาห์แรกของภาคเรียน 2. บรรยายพร้อมยกตัวอย่างประกอบ สารคดี วีดีทัศน์ เกี่ยวกับเทคโนโลยีในปัจจุบันและการพัฒนาในอนาคต 3. ส่งเสริมให้นักศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล ความคิดริเริ่มใหม่ โดยเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
1. กาหนดให้มีการสอบประเมินวัดผลการเรียนกลางภาคและปลายภาค 2. กาหนดให้มีการสอบสัมภาษณ์ คาถามถาม ตอบ เพื่อประเมินความรู้ความเข้าใจหลังชั่วโมงบรรยาย 3. สอบประเมินวัดผลหลังเรียนด้วยการทาแบบทดสอหลังชั่วโมงบรรยาย
1. สามารถแสวงหาความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม ในการพัฒนาเทคโนโลยีจากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์ 2 สามารถสืบค้นข้อมูลหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และทันต่อองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ 3. สามารถ ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
1. มอบหมายให้นักศึกษาแก้ปัญหาที่กาหนด โดยอาศัยความรู้ความเข้าใจในรายวิชานี้ 2. กาหนดให้นักศึกษานาเสนอวิธีการแก้ปัญหาและการอภิปรายกลุ่ม 3. บรรยายพร้อมยกตัวอย่างประกอบ เพื่อให้นักศึกษาเกิดแนวคิดในการวิเคราะห์และแนวทางการแก้ไขปัญหา
1. ประเมินจากการสังเกต ผลการปฏิบัติงาน 2. ประเมินจากการทดสอบโดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์และการประยุกต์ความรู้จากที่ศึกษาในรายวิชา 3. ประเมินจากการบรรลุวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้
1. สามารถสื่อสารร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพในประเด็นที่เหมาะสม 2 สามารถแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม ในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ 3. สามารถรับผิดชอบและมีจิตสานึกในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง สังคม และทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
1. กาหนดให้จัดกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์และการแบ่งกลุ่มย่อยในการฝึกปฏิบัติ 2. กาหนดให้อภิปรายเป็นรายบุคคลและรายกลุ่ม เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและประสบการณ์ 3. บรรยายพร้อมยกตัวอย่างประกอบ เพื่อให้นักศึกษาเกิดแนวคิดในการวางตัวในทางานร่วมกับผู้อื่น
1. ประเมินจากการสังเกต ผลการปฏิบัติงาน 2. ประเมินจากการทดสอบโดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์และการประยุกต์ความรู้จากที่ศึกษาในรายวิชา 3. ประเมินจากการสังเกต และสอบถามจากบุคคลที่นักศึกษาร่วมทางาน
1. สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการแสวงหาความรู้ได้อย่างเหมาะสม 2 สามารถใช้เครื่องมือการคานวณและเครื่องมือทางเทคโนโลยีและอุตสาหกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาที่เกี่ยวข้องได้
1. มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลจากอินเตอร์เน็ต เพื่อสามารถบอกรายละเอียดและข้อกาหนดของเครื่องวัดแบบอนาล็อกและดิจิตอลได้ 2. บรรยายพร้อมยกตัวอย่างประกอบ เพื่อให้นักศึกษาเกิดแนวคิดในการใช้งานคอมพิวเตอร์สาหรับค้นคว้าหาข้อมูลจากอินเตอร์เน็ต
1. ประเมินจากการรายงานเป็นรายบุคคลและรายกลุ่ม 2. ประเมินจากผลการฝึกปฏิบัติ 3. ประเมินจากการสังเกต และสอบถามจากบุคคลที่นักศึกษาร่วมฝึกปฏิบัติ
1. การแสวงหาความรู้ได้อย่างเหมาะสม 2 ประกอบวิชาชีพในสาขาที่เกี่ยวข้องได้
1. มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลจากอินเตอร์เน็ต เพื่อสามารถบอกรายละเอียดและข้อกาหนดของเครื่องวัดแบบอนาล็อกและดิจิตอลได้ 2. บรรยายพร้อมยกตัวอย่างประกอบ เพื่อให้นักศึกษาเกิดแนวคิดในการใช้งานคอมพิวเตอร์สาหรับค้นคว้าหาข้อมูลจากอินเตอร์เน็ต
1. ประเมินจากการรายงานเป็นรายบุคคลและรายกลุ่ม 2. ประเมินจากผลการฝึกปฏิบัติ 3. ประเมินจากการสังเกต และสอบถามจากบุคคลที่นักศึกษาร่วมฝึกปฏิบัติ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 การเข้าเรียนตรงเวลารายงาน ใบงานและแบบประเมิน ทุกสัปดาห์ การสอบกลางภาค การสอบปลายภาค สังเกต ให้คะแนน 1-16 70:30
คณะกรรมการวิชาการสาขาวิศวกรรมไฟฟ้าฯ,มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสาหรับประเทศไทย พ.ศ. 2545; พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุงเทพ, สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์, 2546. ลือชัย ทองนิล, การออกแบบและติดตั้งระบบไฟฟ้าตามมาตรฐานของการไฟฟ้า; พิมพ์ครั้งที่ 4 กรุงเทพฯ , สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย ญี่ปุ่น), 2542. ลือชัย ทองนิล, การตรวจความปลอดภัยระบบไฟฟ้า; พิมพ์ครั้งที่1, กรุงเทพฯ, สมาคมส่งเสริม เทคโนโลยี (ไทย ญี่ปุ่น), 2548. คณะกรรมการวิชาจัดทาหนังสือฯ,รวบรวมประสบการณ์วิศวกรรมงานระบบไฟฟ้า;กรุงเทพ,สมาคม วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์. คณะกรรมการมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าฯ, คู่มือการติดตั้งระบบไฟฟ้าภายในที่อยู่อาศัย หรือ อาคารขนาดเล็ก, กรุงเทพฯ,สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์, 2546. คณะกรรมการมาตรฐานระบบเครื่องกลในอาคาร,มาตรฐานการติดตั้งเครื่องปรับอากาศขนาดเล็ก; พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ, สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์, 2547.
1. การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 2. การสะท้อนคิด จากพฤติกรรมของผู้เรียน 3. แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1. การสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน จากการสอบถาม โดยสุ่มตัวอย่าง 2. ผลการสอบประมวลความรู้ 3. การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
1. จัดการเรียนการสอน โดยให้นักศึกษามีส่วนร่วมในกิจกรรม ทั้งในและนอกสถานที่เพิ่มมากขึ้น 2. จัดให้มีการทาความร่วมมือกับองค์กรภายนอกที่สอดคล้องกับรายวิชา
มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
ปรับปรุงรายวิชาทุกปี ตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4