ศิลปะการขาย

Salesmanship

1. เพื่อให้ผู้ศึกษาเกิดความรู้ ความเข้าใจในการวางแผนการขายศาสตร์และศิลปการขาย
     2. เพื่อให้ผู้ศึกษาเกิดความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักและเทคนิคของศิลปการขาย การขายอย่างสร้างสรรค์
     3. เพื่อให้ผู้ศึกษาสามารถประเมินผลการขายและแก้ปัญหาทางการขาย
     4. เพื่อให้ผู้ศึกษาสามารถนาเอาความรู้และหลักทฤษฏีทางด้านการขายมาประยุกต์ใช้กับ ชีวิตประจำวัน
     5. เพื่อให้ผู้ศึกษาสามารถเข้าใจและเรียนรู้ถึงประสบการณ์ในการอยู่ร่วมกันในสังคม
      1.  เพื่อให้นักศึกษาเกิดความรู้ ความเข้าใจหน้าที่และวิธีการดำเนินการทางการขายได้
      2.  เพื่อให้ผู้ศึกษาสามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาทางการขายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
      3.  เพื่อให้นักศึกษาสามารถนาเอาความรู้และหลักทฤษฏีทางด้านการขายมาประยุกต์ใช้กับชีวิต ประจำวันได้
ศึกษาการวางแผนการขาย ศาสตร์และศิลปะการขาย เทคนิคในการขายสินค้าและบริการต่าง ๆ อย่างสร้างสรรค์ เทคนิคของศิลปะการขายในการขายสินค้าและบริการให้แก่บุคคล องค์กรธุรกิจ และการแก้ปัญหาการขาย
ให้คำปรึกษาตลอดเวล่ผ่าน Facebook กลุ่มวิชาศิลปะการขาย
      สามารถจัดการปัญหาทางคุณธรรม จริยธรรม และวิชาชีพโดยใช้ดุลยพินิจ ทางค่านิยม ความรู้สึกของผู้อื่น ค่านิยมพื้นฐาน และจรรยาบรรณวิชาชีพ แสดงออกซึ่งพฤติกรรมทางด้านคุณธรรมและจริยธรรม อาทิ มีวินัย มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์สุจริต เสียสละ เป็นแบบอย่างที่ดี เข้าใจผู้อื่น และเข้าใจโลก เป็นต้น
      1.1.1 มีความซื่อสัตย์สุจริต ซื่อตรงต่อหน้าที่ ต่อตนเองและต่อผู้อื่น ไม่เอารัดเอาเปรียบผู้อื่น
และมีความสานึกรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
     1.1.2 มีความกตัญญู ความเสียสละ ความอดทน ความเพียรพยายาม
     1.1.3 มีความพอเพียงเป็นหลักในการดาเนินชีวิต โดยยึดแนวความคิดความพอประมาณ
ความมีเหตุผล และการสร้างภูมิคุ้มกัน
     1.1.4 มีความเคารพต่อกฎ ระเบียบ และข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
     1.1.5 มีจิตสานึกและมีมโนธรรมที่จะแยกแยะความถูกต้อง ความดี และความชั่ว
1.2.1 อาจารย์ที่สอนทุกรายวิชาในหลักสูตรการตลาด สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรม
     1.2.2 ให้ความสาคัญในด้านระเบียบวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กาหนด
     1.2.3 จัดกิจกรรม/ โครงการเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม
     1.3.1 ประเมินจากการสอบ/แบบทดสอบ
     1.3.2 ประเมินจากการขานชื่อ การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานตรงเวลา
     1.3.3 ประเมินจากการเข้าร่วมกิจกรรม/โครงการของนักศึกษา
 
 
 
      มีความรู้และความเข้าใจในสาระสาคัญของศาสตร์ที่เป็นพื้นฐานที่จาเป็นสาหรับการเรียนด้านบริหารธุรกิจ ที่ครอบคลุมทั้ง การบัญชี เศรษฐศาสตร์ นิติศาสตร์ ศิลปศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ มีความรู้และความเข้าใจในสาระสาคัญของศาสตร์ด้านบริหารธุรกิจ ทางการตลาด การเงิน การผลิตและการดาเนินงาน รวมทั้งการจัดองค์กรและทรัพยากรมนุษย์ มีความรู้และความเข้าใจสาระสาคัญเกี่ยวกับการบริหารธุรกิจ ในด้านการวางแผนการปฏิบัติการ การควบคุมและการประเมินผลการดาเนินงานรวมทั้งการปรับปรุงแผนงาน มีความรู้เกี่ยวกับความก้าวหน้าทางวิชาการและวิชาชีพด้านบริหารธุรกิจ รวมทั้งมี ความเข้าใจในสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงและผลกระทบอย่างเท่าทัน
 
    ใช้การสอนหลายรูปแบบ ตามลักษณะของเนื้อหารายวิชา โดยเน้นหลักของทฤษฎี และปฏิบัติเพื่อให้เกิดองค์ความรู้ จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มอบหมายให้ทำรายงาน โครงงาน และนาเสนอหน้าชั้นเรียน นักศึกษาทุกคนศึกษาประสบการณ์ตรงจากสถานประกอบการโดยผ่านการฝึกประสบการณ์สหกิจศึกษาหรือการฝึกงาน
   2.3.1 ประเมินจากแบบทดสอบด้านทฤษฎี สาหรับการปฏิบัติประเมินผลจากผลงานและการ
ปฏิบัติการ
   2.3.2 ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น การบ้าน งานที่มอบหมาย รายงาน การทดสอบ
ย่อย การนาเสนอรายงาน การค้นคว้า หน้าชั้นเรียน
   2.3.3 ผลการฝึกประสบการณ์จากสถานประกอบการ ทั้งสหกิจศึกษาหรือการฝึกงาน
3.1.1 มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ต่อยอดกรอบความรู้เดิม สามารถบูรณาการความรู้ใน
สาขาวิชาที่ศึกษาและประสบการณ์เพื่อให้เกิดนวัตกรรม กิจกรรม หรือแนวทางในการ
บริหารธุรกิจใหม่ๆ
   3.1.2 สามารถสืบค้น จำแนก และวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อให้ได้ซึ่งสารสนเทศที่เป็นประโยชน์ ในการแก้ไขปัญหา และตัดสินใจอย่างเหมาะสม
   3.1.3 สามารถคิดค้นทางเลือกใหม่ๆ รวมทั้งสามารถวิเคราะห์ทางเลือกและผลกระทบที่เป็น
ผลจากทางเลือกอย่างรอบด้าน โดยการนำความรู้และประสบการณ์มาประยุกต์ใช้
   3.1.4 มีความกล้าในการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่สอดคล้องกับสถานการณ์
   3.2.1 การศึกษาค้นคว้า และรายงานทางเอกสาร และรายงานหน้าชั้นเรียน
   3.2.2 การมอบหมายงาน การแก้ปัญหาจากกรณีศึกษา หรือสถานการณ์จำลอง
   3.2.3 การสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ที่เปิดโอกาสให้นักศึกษามีส่วนร่วมในชั้นเรียน และ มีการอภิปรายแสดงความคิดเห็น
   3.3.1 ประเมินจากการรายงานผลการศึกษาค้นคว้า โครงงาน โดยการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
และเอกสารรายงาน
   3.3.2 ประเมินจากกรณีศึกษา หรือสถานการณ์จำลอง
   3.3.3 ประเมินจากผลการปฏิบัติการจากสถานการณ์จริง
 
   4.1.1 มีความสามารถในการประสานงาน มีมนุษยสัมพันธ์และสามารถสร้างสัมพันธภาพ
อันดีกับผู้อื่นด้วยพื้นฐานความเข้าใจถึงความแตกต่างของผู้ที่เกี่ยวข้องอย่างมีจิตวิทยา
   4.1.2 มีความสามารถในการทางานเป็นกลุ่ม การประสานงาน การมอบหมายบทบาท
หน้าที่และความรับผิดชอบ พร้อมทั้งให้ความช่วยเหลือและอานวยความสะดวกต่อ
เพื่อนร่วมงาน ซึ่งเป็นการแสดงออกถึงความเป็นผู้นาที่มีความรับผิดชอบ
   4.1.3 มีความกระตือรือร้นและสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความรับผิดชอบยอมรับฟัง
และเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งมีความเป็นผู้ตามในจังหวะที่เหมาะสม
   4.1.4 มีความสามารถในการริเริ่มแสดงความคิดเห็นใหม่ๆ ที่อาจมีความแตกต่างอย่าง
สร้างสรรค์
4.2.1 กำหนดการทางานกลุ่ม โดยให้หมุนเวียนการเป็นผู้นา การเป็นสมาชิกกลุ่ม
และผลัด กันเป็นผู้รายงาน
   4.2.2 ให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ
   4.2.3 ใช้วิธีการสอนแบบเปิดโอกาสในการแสดงความคิดเห็นแบบระดมสมอง
(Brainstorming) เพื่อส่งเสริมการเคารพสิทธิ และการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
   4.3.1 ประเมินจากการรายงานหน้าชั้นเรียนโดยอาจารย์และนักศึกษา
   4.3.2 ประเมินพฤติกรรม ภาวการณ์เป็นผู้นำ และผู้ตามที่ดี
   4.3.3 สังเกตพฤติกรรมการระดมสมอง (Brainstorming)
   4.3.4 ติดตามการทางานร่วมกับสมาชิกกลุ่มของนักศึกษาเป็นระยะตามลักษณะงาน
 
   5.1.1 สามารถประยุกต์ใช้หลักคณิตศาสตร์ สถิติและการวิเคราะห์เชิงปริมาณมาใช้ในการ
วิเคราะห์และตัดสินใจทางธุรกิจ
   5.1.2 สามารถสื่อสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ
   5.1.3 สามารถใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์พื้นฐานและเทคโนโลยีระบบสารสนเทศที่จำเป็น
ต่อการปฏิบัติงาน
   5.1.4 สามารถสื่อสารเพื่ออธิบายและสร้างความเข้าใจอย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียน
รายงานและการนำเสนอด้วยวาจา
   5.1.5 สามารถสื่อสารด้วยบุคลิกภาพที่น่าเชื่อถือและสามารถเลือกใช้รูปแบบของสื่อ

เทคนิควิธีการและเทคโนโลยีที่เหมาะสม สอดคล้องกับกลุ่มบุคคลที่มีพื้นฐานและ
แนวความคิดที่หลากหลาย
   5.1.6 ความสามารถนำเทคโนโลยีไปเป็นเครื่องมือในการสนับสนุนในการดำเนินงานและ ทราบถึงข้อจำกัดของเทคโนโลยี
   5.1.7 ความสามารถนาเทคโนโลยีการสื่อสารแบบเครือข่าย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการ สื่อสารและดำเนินงาน
5.2.1 ส่งเสริมให้มีการตัดสินใจจากข้อมูลบนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลข
   5.2.2 การใช้ศักยภาพทางคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศในการงานที่ได้รับ
มอบหมาย
   5.2.3 ส่งเสริมการค้นคว้า เรียบเรียงข้อมูลและนาเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้ถูกต้องและให้
ความสำคัญในการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล
   5.3.1 ประเมินจากผลงาน / กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์เชิงตัวเลข
   5.3.2 ประเมินผลงานการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศที่มอบหมายแต่ละบุคคล
   5.3.3 ประเมินทักษะการสื่อสารด้วยภาษา จากการนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน
6.1.1 สามารถปฏิบัติงานขายได้
6.2.1 สอนโดยวิธีบรรยายพร้อมทั้งฝึกปฏิบัติงานขายในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน
6.3.1 ประเมินจากลักษณะการนำเสนอขายและการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าในการขาย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4.ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ด้านการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่่อสาร การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 2.8 2.9 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 2.7 3.1 3.2 3.3 3.4 3.5 4.1 4.2 4.3 4.4 4.5 4.6 4.7 5.1 5.2 5.3 5.4 5.5 5.6 6.1 6.2 6.3 6.4 6.5
1 BBABA616 ศิลปะการขาย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1.2 การสอบกลางภาค 9 30%
2 3.1.2, 4.1.2, 5.1.4 การปฏิบัติการขาย ตลอดภาคการศึกษา 30%
3 1.1.4 การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
4 2.1.2 สอบปลายภาค 17 30%
ปรีดา ตัญจนะ. (2561).เอกสารประกอบการสอนวิชา ศิลปะการขาย. ลำปาง: หลักสูตรการตลาด คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง
-
-
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษา ได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา

1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
การเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน
2.1   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชา ได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์ท่านอื่น
4.2  การตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1  ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการตลาดให้มีความหลากหลายมากขึ้น