การอนุรักษ์และการจัดการพลังงาน

Energy Conservation and Management

นักศึกษาสามารถรู้และเข้าใจถึง ความรู้เบื้องต้นพลังงานและการใช้พลังงานในอาคารและโรงงาน กฎหมายเกี่ยวกับการอนุรักษ์พลังงาน เช่น พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน การวิเคราะห์การใช้พลังงาน แนวทางส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานในอาคารและโรงงาน การวิเคราะห์การลงทุน การจัดทำแผนการอนุรักษ์พลังงาน
ศึกษาเกี่ยวกับ ความรู้เบื้องต้นพลังงานและการใช้พลังงานในอาคารและโรงงาน กฎหมายเกี่ยวกับการอนุรักษ์พลังงาน เช่น พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน การวิเคราะห์การใช้พลังงาน แนวทางส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานในอาคารและโรงงาน การวิเคราะห์การลงทุน การจัดทำแผนการอนุรักษ์พลังงาน
ให้คําแนะนําในวันเวลาทีนักศึกษาต้องการและมาซักถามเป็นรายบุคคล นอกเวลาเรียนปกติ ในวันเวลาปฏิบัติราชการ จํานวนอย่างน้อยสัปดาห์ละ 2 วัน วันละ 1 ชัวโมง (เฉพาะรายที่ต้องการ)
  š  1.  มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และ มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1. ปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้น การเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลาตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัยฯ
2. นักศึกษาต้องมี ความรับผิดชอบโดยในการทำงานกลุ่มนั้นต้องฝึกให้รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม
1. ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในภาพเข้าชั้นเรียน การส่งงานตาม กำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
2. ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
3.ประเมินจากคุณภาพของงานที่ได้รับมอบหมาย ที่สะท้อนถึงความตั้งใจ ความ รับผิดชอบของนักศึกษา
4.ประเมินผลการนําเสนอรายงานที่มอบหมาย
สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี และประยุกต์ทาง ปฎิบัติในสภาพแวดล้อมจริง
2. ใช้เทคโนโลยีช่วยในการเรียนการสอน และสืบค้นหาข้อมูล
3. ฝึกปฏิบัติงานในสถานสถานที่จริง
1.การทดสอบย่อย
2.การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
3.ประเมินจากการนําเสนอผลการงานที่มอบหมาย
4.ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. บูรณาการการ เรียนการสอนกับการทำงาน (Work-Integrated Learning)
2. ให้นักศึกษารู้จักวิเคราะห์องค์ประกอบ ของสถานการณ์ต่าง ๆ โดยใช้บทบาทสมมติสถานการณ์จำลอง
1. บทบาทสมมติหรือสถานการณ์จำลอง
2. การนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
3. การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือสัมภาษณ์
สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่าง
1. กำหนดกิจกรรมให้มีการทำงานเป็นกลุ่ม
2. ค้นคว้าหาข้อมูลจากการสัมภาษณ์บุคคลอื่น
3. การทำงานที่ต้องประสานงาน กับผู้อื่นข้ามหลักสูตร
1. ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้น เรียน
2. ประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่าง ๆ
สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือที่เหมาะสมสำหรับการคำนวณได้
1. ทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเป็นเครื่องมือในการปฏิบัติงาน  การติดต่อสื่อสารและการพัฒนาตนเอง
2. สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
3. สามารถใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
1. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสา
2. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล
3. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงาน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3 และ 3.1 การเข้าเรียน และการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน ตลอดภาคการศึกษา ร้อยละ 10
2 1.3, 2.3 และ 4.3 การบ้านและงานที่มอบหมาย 3, 12 ร้อยละ 15
3 2.3, 3.2 และ 4.3 การนำเสนอรายงาน 4, 14 ร้อยละ 15
4 1.3, 2.3, 3.2 และ 5.1 สอบกลางภาค 9 ร้อยละ 30
5 1.3, 2.3, 3.2 และ 5.1 สอบปลายภาค 17 ร้อยละ 30
1.1 ผู้ตรวจรับรองแบบอาคารอนุรัษ์พลังงาน "สำนักกำกับและอนุรักษ์พลังงาน กรมพัมนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน"
1.2 Energy management and conservation handbook / edited by Frank Kreith, D. Yogi Goswami
1.3 เทคนิคการอนุรักษ์พลังงานในโรงงานอุตสาหกรรมและกรณีศึกษา, ศิริกัลยา สุวจิตตานนท์, สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์2548, 361 หน้า
1.4 กระทรวงพลังงาน, กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) "คู่มือแนวทางการออกแบบอาคารเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน” 2560
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนไดจัดทําเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้ 3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจําหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 1 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ