การควบคุมคุณภาพ

Quality Control

ศึกษาระบบควบคุมคุณภาพในระบบการผลิต การเลือกใช้ในการควบคุมคุณภาพได้อย่างเหมาะสม   เช่น  ใบตรวจสอบ     แผนภูมิควบคุมพาเรโต  แผนภูมิเหตุและผล ฯลฯ      ศึกษาการสร้างแผนภูมิควบคุมคุณภาพ  กำหนดแผนการชักสิ่งตัวอย่าง  เพื่อสร้างมาตรฐานคุณภาพให้สอดคล้องกับมาตรฐานสากล   การดำเนินกิจกรรมกลุ่มสร้างคุณภาพ      ศึกษาค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการมีระบบควบคุมคุณภาพ  ความเชื่อถือได้  และการรับประกันซึ่งคุณภาพของผลิตภัณฑ์
เพื่อให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีอุตสาหกรรมที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย และเพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าในระบบควบคุมคุณภาพในระบบการผลิต การเลือกใช้ในการควบคุมคุณภาพได้อย่างเหมาะสม และสอดรับกับการเรียนในวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องต่อไป
ศึกษาระบบควบคุมคุณภาพในระบบการผลิต การเลือกใช้ในการควบคุมคุณภาพได้อย่างเหมาะสม   เช่น  ใบตรวจสอบ     แผนภูมิควบคุมพาเรโต  แผนภูมิเหตุและผล ฯลฯ      ศึกษาการสร้างแผนภูมิควบคุมคุณภาพ  กำหนดแผนการชักสิ่งตัวอย่าง  เพื่อสร้างมาตรฐานคุณภาพให้สอดคล้องกับมาตรฐานสากล   การดำเนินกิจกรรมกลุ่มสร้างคุณภาพ      ศึกษาค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการมีระบบควบคุมคุณภาพ  ความเชื่อถือได้  และการรับประกันซึ่งคุณภาพของผลิตภัณฑ์
-     อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านระบบกลุ่ม Line ที่ตั้งร่วมกันกับนักศึกษา   -   อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
- มีวินัย ตรงต่อเวลา ซื่อสัตย์สุจริต และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ของสาขาวิชา มหาวิทยาลัย และข้อตกลงกับอาจารย์ผู้สอน  - มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น  - มีเจตคติที่ดีในการในระบบควบคุมคุณภาพในระบบการผลิต การเลือกใช้ในการควบคุมคุณภาพได้อย่างเหมาะสม  
- อธิบายให้นักศึกษารับทราบแนวทางการสอน   - กำหนดให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่ม และนำเสนอข้อมูล ข้อเท็จจริง ตามหลักการควบคุมคุณภาพในระบบการผลิต
- ตรวจสอบเวลาการมาเรียนของนักศึกษา  - สังเกต และให้คะแนนการทำงานเป็นกลุ่ม และการนำเสนอ  - การซักถาม และ การแสดงความคิดเห็น
- มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐานและเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง  - มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญในเชิงทฤษฎีของระบบควบคุมคุณภาพในระบบการผลิต การเลือกใช้ในการควบคุมคุณภาพที่เหมาะสม  - สามารถใช้ความรู้ของวิชาในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้
- บรรยาย ยกตัวอย่าง และให้นักศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง  - การให้นักศึกษา ตรวจสอบขนาดชิ้นงานจริงเพื่อเก็บข้อมูล  - การให้นักศึกษาแสดงการคำนวณ ด้านควบคุมคุณภาพในระบบการผลิต  
- ประเมินจาก แบบทดสอบความรู้และการคำนวณด้านควบคุมคุณภาพในระบบการผลิต
- สามารถนำความรู้จากภาคทฤษฎีมาปรับใช้กับการปฏิบัติได้ถูกต้อง  - มีความคิดที่ยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม  - สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ที่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ
- บรรยาย ยกตัวอย่าง และให้นักศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง
- มอบหมายงานจาก ตัวอย่างที่เกิดขึ้นในการทำงานจริง ให้นักศึกษาทำการวิเคราะห์และเลือกวิธีการควบคุมคุณภาพในระบบการผลิต
ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาทำการวิเคราะห์และเลือกวิธีการควบคุมคุณภาพในระบบการผลิต
- สามารถวางแผนการปฏิบัติงานและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง  - รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม  - สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพสามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ  - มีจิตสำนึกความรับผิดชอบในการทำงาน และต่อสังคม
- บรรยาย ยกตัวอย่าง และให้นักศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง
- กำหนดให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่ม และนำเสนอข้อมูล ข้อเท็จจริง ตามหลักการควบคุมคุณภาพในระบบการผลิต  แก้ไข
- สังเกต และให้คะแนนการทำงานเป็นกลุ่ม และการนำเสนอ  - การซักถาม และ การแสดงความคิดเห็น
- สามารถใช้หลักการที่เรียนมาวิเคราะห์ คำนวณ ประกอบการพิจารณาในการแก้ไขกรณีตัวอย่างได้อย่างถูกต้อง  - สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยมาประกอบการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ  - มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
- บรรยาย ยกตัวอย่าง และให้นักศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง 
ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาทำการวิเคราะห์ นำเสนอข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา มีเจตคติที่ดีในการในระบบควบคุมคุณภาพในระบบการผลิต การเลือกใช้ในการควบคุมคุณภาพได้อย่างเหมาะสม มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญในเชิงทฤษฎีของระบบควบคุมคุณภาพในระบบการผลิต การเลือกใช้ในการควบคุมคุณภาพที่เหมาะสม มีความคิดที่ยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยมาประกอบการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา - อธิบายให้นักศึกษารับทราบแนวทางการสอน - กำหนดให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่ม และนำเสนอข้อมูล ข้อเท็จจริง ตามหลักการควบคุมคุณภาพในระบบการผลิต - บรรยาย ยกตัวอย่าง และให้นักศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง - การให้นักศึกษา ตรวจสอบขนาดชิ้นงานจริงเพื่อเก็บข้อมูล - การให้นักศึกษาแสดงการคำนวณ ด้านควบคุมคุณภาพในระบบการผลิต มอบหมายงานจาก ตัวอย่างที่เกิดขึ้นในการทำงานจริง ให้นักศึกษาทำการวิเคราะห์และเลือกวิธีการควบคุมคุณภาพในระบบการผลิต - กำหนดให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่ม และนำเสนอข้อมูล ข้อเท็จจริง ตามหลักการควบคุมคุณภาพในระบบการผลิต - บรรยาย ยกตัวอย่าง และให้นักศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเองจากเทคโนโลยีสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง - การให้นักศึกษา ตรวจสอบขนาดชิ้นงานจริงเพื่อเก็บข้อมูล - การให้นักศึกษานำเสนอข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
1 34062304 การควบคุมคุณภาพ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา - มีวินัย ตรงต่อเวลา ซื่อสัตย์สุจริต และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ของสาขาวิชา มหาวิทยาลัย และข้อตกลงกับอาจารย์ผู้สอน - มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น - มีเจตคติที่ดีในการในระบบควบคุมคุณภาพในระบบการผลิต การเลือกใช้ในการควบคุมคุณภาพได้อย่างเหมาะสม - การนำเสนอรายงาน - การเข้าชั้นเรียน - การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 20%
2 ความรู้ที่ต้องได้รับ - มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐานและเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง - มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญในเชิงทฤษฎีของระบบควบคุมคุณภาพในระบบการผลิต การเลือกใช้ในการควบคุมคุณภาพที่เหมาะสม - สามารถใช้ความรู้ของวิชาในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้ - การทำแบบฝึกหัด - การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษาจากการค้นคว้าการทำงานกลุ่มและผลงาน - การอภิปรายและเสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 25%
3 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา - สามารถนำความรู้จากภาคทฤษฎีมาปรับใช้กับการปฏิบัติได้ถูกต้อง - มีความคิดที่ยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม - สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ที่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ - ให้นักศึกษาทำการวิเคราะห์และเลือกวิธีการควบคุมคุณภาพในระบบการผลิต - การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษ 25%
4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา - สามารถวางแผนการปฏิบัติงานและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง - รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม - สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพสามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ - มีจิตสำนึกความรับผิดชอบในการทำงาน และต่อสังคม - สังเกต และให้คะแนนการทำงานเป็นกลุ่ม และการนำเสนอ - การซักถาม และ การแสดงความคิดเห็น ตลอดภาคการศึกษา 15%
5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ - สามารถใช้หลักการที่เรียนมาวิเคราะห์ คำนวณ ประกอบการพิจารณาในการแก้ไขกรณีตัวอย่างได้อย่างถูกต้อง - สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยมาประกอบการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ - มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายได้อย่างถูกต้องเหมาะสม - การทำแบบฝึกหัด - สื่อการนำเสนอรายงาน - วิธีการค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล การทำงานกลุ่มและผลงาน - การอภิปรายและเสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 15%
 ศุภชัย อัครนรากุล.เอกสารประกอบการสอนวิชาการควบคุมคุณภาพ.สาขาวิศวกรรมมาพิมพ์.มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา. 
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในรายวิชา เช่น http://library.rmutl.ac.th/
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้  1.1 การสนทนาระหว่างผู้สอนและผู้เรียน  1.2 การประเมินผู้สอน และการเสนอแนะของนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้  2.1   การสังเกตการณ์สอน  2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา  2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1   ประชุมหารือการจัดการเรียนการสอน ในหลักสูตรเพื่อหาแนวทางที่เหมาะสมกับนักศึกษา  3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
- การตรวจสอบข้อสอบ ผลงานนักศึกษา วิธีการให้คะแนน   - การสุ่มนักศึกษา เพื่อทำการทดสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา โดยไม่มีผลต่อการตัดเกรดของนักศึกษา
- ปรับปรุงรายละเอียดการสอน หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ 
- รับฟังความคิดเห็นจากนักศึกษา เพื่อการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา หลังสิ้นสุดการเรียนการสอนในแต่ละภาคเรียน