พันธุศาสตร์ทางการเกษตร

Genetics for Agriculture

1.1 รู้และเข้าใจเกี่ยวกับโครงสร้างทางเคมี คุณสมบัติและหน้าที่ของสารพันธุกรรม การแสดงออกของยีนและการควบคุม พันธุศาสตร์ของเมนเดลและแบบอื่นๆ การหาตาแหน่งยีนบนโครโมโซม การกลายพันธุ์ พันธุศาสตร์เชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ พันธุศาสตร์ประชากร และวิวัฒนาการ 1.2 ประยุกต์ใช้และบูรณาการความรู้ทางพันธุศาสตร์ในทางวิชาชีพ 1.3 มีทักษะการปฏิบัติทางพันธุศาสตร์ 1.4 มีคุณธรรม จริยธรรม มีวินัย มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม 1.5 สามารถสืบค้นและศึกษาความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่เกี่ยวข้องกับพันธุศาสตร์
เพื่อให้สอดคล้องตาม มคอ. 2 และเพื่อให้เป็นไปตามกรอบมาตรฐาน TQF  
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับโครงสร้างทางเคมี คุณสมบัติและหน้าที่ของสารพันธุกรรม การแสดงออกของยีนและการควบคุม พันธุศาสตร์ของเมนเดลและแบบอื่นๆ การหาตาแหน่งยีนบนโครโมโซม การกลายพันธุ์ พันธุศาสตร์เชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ พันธุศาสตร์ประชากรและวิวัฒนาการ การประยุกต์ใช้พันธุศาสตร์ทางการเกษตร  
1.5 ชั่วโมง
1.1 มีคุณธรรม จริยธรรม
1.2 มีจรรยาบรรณ
- การเข้าเรียนตรงเวลา และ สม่ำเสมอ
- การซื่อสัตว์ในการสอบ
- การเข้าร่วมกิจกรรมตามกำหนด
วิธีการวัด โดย การปฏิบัติตามกฎระเบียบที่กำหนดไว้ ได้แก่
- เข้าเรียนสม่ำเสมอ สามารถขาดเรียนได้เมื่อมีเหตุจำเป็น
- เข้าเรียนตรงเวลา สามารถสายได้ไม่เกิน 10 นาที
- การทำข้อสอบด้วยความซื่อสัตว์
- การเข้าร่วมกิจกรรมตามกำหนด
 
การประเมินผล โดย จำนวนครั้งในการปฏิบัติตามกฎระเบียบที่กำหนดไว้ แล้วประมวลเป็นคะแนนจิตพิสัยร้อยละ 10
2.1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ  2.2 มีความรอบรู้ 
ด้านทฤษฎี มีความรอบรู้ โดย
1. เน้นหลักการทฤษฎี
2. การประยุกต์ใช้ความรู้ในชีวิตประจำวันและทันต่อปัจจุบัน
 
ด้านปฏิบัติ มีความรอบรู้ โดย
1 เน้นการปฏิบัติโดยใช้กรณีศึกษา ตัวอย่างที่เป็นทางการเกษตร
ด้านทฤษฎี วิธีการวัด โดย
- การสอบ
การประเมินผล โดย
- ผลคะแนนการสอบ
 
ด้านปฏิบัติ วิธีการวัด โดย
1 สามารถรายงานผลปฏิบัติการได้อย่างถูกต้อง
2 การสอบปฏิบัติ
การประเมินผล โดย
- ผลงานในแต่ละบทปฏิบัติการ
- ผลคะแนนการสอบ
3.1 สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบฃ
3.2 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์
3.3 ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้
ด้านทฤษฎี มีความสามารถในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์ โดย
1. การมีถอดบทเรียนจากบทบาทสมมติ สถานการณ์จำลอง กรณีศึกษาทางการเกษตร แล้วนำข้อมูลฐานความรู้มาทำการสร้างองค์ความรู้ใหม่ หรือ พัฒนาเป็นนวัตกรรมใหม่
 
ด้านปฏิบัติ โดย
1. นำบทบาทสมมติ สถานการณ์จำลอง กรณีศึกษาทางการเกษตร มาเป็นแบบฝึกทักษะความคิดริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อพัฒนาให้ได้องค์ความรู้ใหม่ หรือ นวัตกรรมใหม่
ด้านทฤษฎี วิธีการวัด โดย
- การนำเสนอความคิดเชิงริเริ่มสร้างสรรค์ที่ได้จากการถอดบทเรียน  
- การสอบ
การประเมินผล โดย
- ผลงานด้านองค์ความรู้ หรือ ผลงานความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีความครบถ้วน ถูกต้องของพื้นความรู้ที่ได้รับ
- ผลคะแนนการสอบ
 
ด้านปฏิบัติ วิธีการวัด โดย
1 ประเมินจากการแสดงความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ผ่านการใช้บทบาทสมมติ สถานการณ์จำลอง กรณีศึกษาทางการเกษตร มาเป็นแบบฝึกทักษะความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
 2 การสอบ
การประเมินผล โดย
- ความสามารถแสดงความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ โดยมีหลักจากทักษะที่ได้ฝึกปฏิบัติมา
 - คะแนนการสอบปฏิบัติ
4.1 ภาวะผู้นำ
4.2 มีจิตอาสาและสานึกสาธารณะ
มีการฝึกทักษะด้านมนุษยสัมพันธ์โดย
- การทำงานกลุ่ม
- การรับผิดชอบต่อพื้นที่ส่วนรวม โดยการทำความสะอาดห้องเรียน
- การเก็บรักษาอุปกรณ์การเรียน
วิธีการวัด โดย
- การให้ความร่วมมือในการทำงานร่วมกัน
- การให้ความร่วมมือในการทำความสะอาดห้องเรียน
- การดูแลรักษาอุปกรณ์การเรียนต้นเทอม-ท้ายเทอม
การประเมินผล โดย
- จำนวนการให้ความร่วมมือในการทำงานกลุ่ม
- จำนวนครั้งที่อยู่ครบจนการทำความสะอาดเสร็จสิ้น
- อุปกรณ์การเรียนต้นเทอม-ท้ายเทอมมีอยู่ครบ
5.1 มีทักษะการสื่อสาร
5.2 มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
มีการฝึกทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ โดย จัดกิจกรรมให้
- มีการสืบค้นความรู้จากเทคโนโลยีสารสนเทศ ในหลากหลายสถานการณ์
- การนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม
วิธีการวัด โดย
- มีการสืบค้นความรู้จากสื่อต่างๆได้อย่างมีประสิทธิภาพ  
- นำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม
การประเมินผล โดย
- การอ้างอิงแหล่งสืบค้นที่น่าเชื่อถือ
- รูปแบบการนำเสนอได้เหมาะสม น่าสนใจ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 1 2 3 1 2 1 2
1 BSCAG006 พันธุศาสตร์ทางการเกษตร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม - จำนวนการเข้าเรียน - ความซื่อสัตว์ในการสอบ - การเข้าร่วมกิจกรรมตามกำหนด ทุกสัปดาห์ 10
2 ความรู้ รายงานปฏิบัติการ สอบปฏิบัติ สอบทฤษฎี 9 และ 18 60
3 ปัญญา การแสดงความคิดเชิงสร้างสรรค์ ทุกสัปดาห์ 20
4 ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล - การทำงานกลุ่ม - การรับผิดชอบต่อพื้นที่ส่วนรวม ทุกสัปดาห์ 5
5 ทักษะวิเคราะห์เชิงตัวเลข และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ - การอ้างอิงแหล่งสืบค้น - รูปแบบการนำเสนอ ทุกสัปดาห์ 5
พรรณพร  กุลมา. 2558. ปฏิบัติการพันธุศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 1. น่าน: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน
หลักพันธุศาสตร์
สื่อทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
1.1  ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ทั้งด้านวิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและห้องนอกเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน    ที่ส่งผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบเครือข่ายของมหาวิทยาลัย  
1.2  ให้นักศึกษาประเมินการสอน โดยการสอบถามประเมินการสอนของอาจารย์ผู้สอน
2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา
          2.2 ผลการประเมินจากการสอบถามประเมินการสอนของอาจารย์ผู้สอน
ปรับปรุงเนื้อหา กรณีศึกษาให้สอดคล้องกับวิชาชีพ และ ความเป็นปัจจุบัน
การทบทวนการออกข้อสอบตรงตามวัตถุประสงค์ในแต่ละบท
          การทบทวนตรวจสอบการให้คะแนนผลการเรียนนักศึกษา
ทำการทบทวนเนื้อหาในบทปฏิบัติการให้สอดคล้องกับ มคอ. 2 และเป็นไปตามกรอบสมรรถนะมาตรฐาน TQF
          นำผลการประเมินที่ได้จากการประเมินของนักศึกษามาใช้ปรับปรุงในภาคการศึกษาที่ 2/2563