ออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน 4

Interior Architectural Design 4

1. เข้าใจ หลักการและวิวัฒนาการของการจัดสำนักงาน
2. เข้าใจ องค์ประกอบภายในสำนักงาน และข้อมูลต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบตกแต่งภายในสำนักงาน
3. เข้าใจ กระบวนการออกแบบและการวิเคราะห์ข้อมูลที่นำไปสู่การออกแบบ
4. สามารถออกแบบวางผังแปลน และ งานตกแต่งภายในอาคารประเภทสำนักงานที่แสดงถึงอัตลักษณ์องค์กร
5. มีเจตคติที่ดีต่องานออกแบบสถาปัตยกรรมภายในสำนักงาน
เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจวิวัฒนาการและหลักการจัดสำนักงานประเภทต่างๆ รู้ถึงองค์ประกอบและระบบต่างๆภายในสำนักงาน โดยใช้กระบวนการออกแบบ และรวบรวมข้อมูลที่นำไปสู่การออกแบบเพื่อให้นักศึกษาสามารถออกแบบวางผังแปลน ออกแบบตกแต่งภายในอาคารประเภทสำนักงาน ที่แสดงถึงอัตลักษณ์องค์กร
ศึกษาและฝึกปฏิบัติการออกแบบงานสถาปัตยกรรมภายในของอาคารประเภทสำนักงาน การออกแบบอัตลักษณ์องค์กร โดยใช้กระบวนการออกแบบและรวบรวมข้อมูล
-   อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาหน้าชั้นเรียน
 -  อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 4  ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.2  มีวินัย ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กร และสังคม
1.1.3  มีภาวะความเป็นผู้นำ สามารถทำงานเป็นทีม
1.1.4  คำนึงถึงผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางสถาปัตยกรรมภายใน ต่อบุคคล องค์กร และสิ่งแวดล้อม
ตระหนักถึงจรรยาบรรณทางวิชาการ และวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพรวมถึงเข้าใจบริบททางสังคมของวิชาชีพสถาปัตยกรรม แต่ละสาขา ตั้งแต่อดีต ถึงปัจจุบัน
เช็คชื่อนักศึกษาก่อนเริ่มเรียนทุกครั้ง ให้นักศึกษามาเตรียมอุปกรณ์นำเสนอก่อนเวลาทุกครั้งเมื่อมีจะการนำเสนองาน

1.2.3  กำหนดวันเวลาส่งงานที่ชัดเจน โดยให้นักศึกษาเซนต์ชื่อส่งงานทุกครั้ง
          1.2.4    กำหนดให้นักศึกษาระบุที่มาของข้อมูลของ ตัวอย่างกรณีศึกษา(Case Study) และ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง กับการออกแบบที่นำมาใช้งานอย่างจริงจัง
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2   มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3   การมาเตรียมอุปกรณ์นำเสนอก่อนเวลาทุกครั้งเมื่อมีจะการนำเสนองานของนักศึกษา
1.3.5   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
 2.1.1  มีความรู้และความเข้าใจหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาของสาขาวิชาชีพ
 2.1.2   มีความรอบรู้ในสาขาวิชาชีพสถาปัตยกรรมภายในที่เกี่ยวเนื่องและศาสตร์แขนงอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
 2.1.3   มีความรู้ และความเข้าใจในศาสตร์ด้านเทคโนโลยีเพื่อใช้ในการออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน
2.1.5  สามารถค้นคว้าหาข้อมูล และนำหลักการ ทฤษฏี และความรู้อื่นๆเข้ามาสร้างแนวทาง และ แก้ไขปัญหาในการปฏิบัติวิชาชีพอย่างเหมาะสม
นักศึกษาฟังบรรยายเรียนรู้และปฏิบัติตาม ผู้สอน

2. กำหนดให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติตาม
2.3.1   ทดสอบย่อย ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2   วัดผลงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลามีการสอบวัดประเมินผล
3.1.1 สามารถวิเคราะห์เชื่อมโยง และทำความเข้าใจอย่างเป็นเหตุเป็นผล โดยบูรณาการ ความรู้ในหลายๆด้าน และสังเคราะห์แนวคิด เพื่อออกแบบและหรือสร้างสรรค์ตามกระบวนการทำงาน
3.1.2  สามารถคิดอย่างสร้างสรรค์ ประกอบด้วยจินตนาการ แก้ไขปัญหาในการออกแบบที่ซับซ้อนได้ หรือเสนอแนวทางการแก้ปัญหา ที่ประสานประโยชน์ใช้สอย ความงาน เทคโนโลยี บริบทสังคมเข้าด้วยกัน
           3.1.3   มีทักษะในการรวบรวมองค์ความรู้ สามารถวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจในการแก้ปัญหา และพัฒนาต่อยอด
         3.1.4   มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1 ให้หลักการในการวิเคราะห์โครงการและขั้นตอนการออกแบบ พร้อมยกตัวอย่างในการออกแบบสถาปัตยกรรมภายในสำนักงาน
   3.2.2     ฝึกให้นักศึกษาตัดสินใจในการเลือกประเภทของสำนักงานที่จะออกแบบ
   3.2.3    กำหนดให้นักศึกษาต้องเข้าไปศึกษาโครงการกรณีศึกษา
   3.2.4    การมอบให้นักศึกษาปฏิบัติการรวรวม และวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อใช้ในการออกแบบ
           3.2.5    กำหนดให้มีการนำหลักการและขั้นตอนของกระบวนการออกแบบมาใช้ในงานออกแบบสถาปัตยกรรมภายในสำนักงานอย่างเหมาะสม
3.3.1 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
3.3.3 ประเมินผลจากกระบวนการวิเคราะห์ข้อมูลนำไปสู่การผลการออกแบบ sketch Design และ Project
-
-
-
    5.1.3   สามารถใช้เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติวิชาชีพอย่างเหมาะสม
5.2.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือค้นคว้าที่เหมาะสม
5.2.2 สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.3.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบสื่อนำเสนอ ด้วย ชารด์ และโปรแกรมคอมพิวเตอร์
5.3.2   ประเมินจากการบรรยายข้อมูล ความเข้าใจง่าย ชัดเจน และน่าสนใจ
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1 คุณธรรม จริยธรรม 2 ความรู้ 3 ทักษะทางปัญญา 4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5 ทักษะวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3
1 42021304 ออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน 4
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม - การเข้าชั้นเรียน การร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน - การตรงต่อเวลา ในการเข้าชั้นเรียน และส่งงาน - ความซื่อสัตว์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมาย และการสอบ ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 ความรู้ - การทำรายงานการสำรวจค้นคว้าและการนำเสนอ - สอบกลางภาค - การทำรายงานการสำรวจค้นคว้าและการนำเสนอ 1-2 8 ตลอดภาคการศึกษา 10% 5% 10%
3 ทักษะทางปัญญา - การออกแบบสถาปัตยกรรมภายในส่วนต่างๆภายในสำนักงาน - การจัดทำโครงการออกแบบสถาปัตยกรรมภายในสำนักงาน 3-7 9-15 20% 30%
4 ทักษะความสัมพันธ์ - - -
5 การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ -การทำรายงานการสำรวจค้นคว้า และนำเสนอผลงานการออกแบบโครงการ 2,8,10,12, 15 10%
1.จันทนี  เพชรานนท์. การทำรายละเอียดประกอบโครงการออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน. กรุงเทพฯ :สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง, 2542
2. นภาพรรณ  สุทธะพินท . การออกแบบและจัดพื้นที่สำนักงาน. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ ส.ส.ท. พิมพ์ครั้งที่1,2548
3.พิบูลย์  ดิษฐอุดม. การออกแบบระบบแสงสว่าง. กรุงเทพฯ : บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น ,2545
4.นันทนี  เนียมทรัพย์  การออกแบบสำนักงานแนวใหม่เพื่อสุขภาวะของมนุษย์ (มีนาคม 2553)
5.วิวัตน์ ลิ้มสวนทรัพย์  การออกแบบ เอกลักษณ์องค์กรและสภาพแวดล้อมภายในโถงต้อนรับอาคารสำนักงานในธนาคารเพื่อการเกษตร และสหกรณ์การเกษตร (ธกส) .กรุงเทพ : สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง, 2549
6. CRANE DIXON. ARCHITECTS’ DATA SHEETS OFFICE SPACES .uk :Architecture Design and Technology press Firstpublished, 1991
7. Cl Littlefield. Frank M.Rachel and Donald L Caruth. Office and Administrative Management. new Delhi : Prentive-Hall of india, 1974
8. การนำเสนอโดยการเขียนโครงการ : www.vcharkarn .com /iesson / 1615
9. การจัดห้องทำงาน STUDY & OFFICE : www.decorreport.com
10. จิรพัฒน์  อุ้มมนุษยชาติ. การจัดพื้นที่และการจัดสภาพแวดล้อมในสำนักงาน : www.pdsci-low.buu.ac.th , 14 พฤศจิกายน 2553
11. บทความ การออกแบบ. การออกแบบสำนักงาน NOBIC : www.npsfurnitures.com
12. นิรวรรณ จันทรวงค์. ความหมายและความสำคัญของสำนักงาน: www.l3nr.org.th ,2010
13. สำนักงาน (Office Chapter1) :www.wbi.mus.ac.th
14. สำนักงาน (Office Chapter2) :www.wbi.mus.ac.th
15. อนัญญา อดำคา. หลักการจัดสำนักงานที่เลขานุการควรรู้ : www.13nr.org
16. เอกพงษ์  ตรีตรง. การจัดพื้นที่สำนักงาน : www.indesign.th.com : InDesign and Consultant Co.ltd
17. เอกพงษ์  ตรีตรง. การออกแบบสำนักงานแนวใหม่ : www.indesign-consultant.com : InDesign and Consultant Co.ltd
18. อเนกพงศ์  ลิ่มศิลา. ขั้นตอนการวางแผนและเขียนโครงการ: site.google.com /prchid tinna butr / akegapong 49-1
 
19. การออกแบบสถานที่ทำงานในสำนักงาน. สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน : Kanchanappisek.or.th.
20. สภาพแวดล้อมในการทำงาน .เอกสารประกอบการเรียนวิชา ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ จิตวิทยาอุตสาหกรรม : http://elearning.aru.ac.th/2512704/soc05/topic4/linkfile/print5.htm
21. “บอดี้ โกลฟ” สำนักงานใหม่ กระตุ้นให้พนักงานทำงานสร้างสรรค์ และกระตือรือร้น. ศุนย์รวมความรู้เรื่องงานดีไซน์. 12 กุมภาพันธ์ 2556. Permalink : http://www.oknation.net/blog/u-sabuy )
22. ความหมายของลักษณะสภาพแวดล้อมในการทำงาน. https://www.facebook.com/ EnergyAndEnvironmentphlangnganLaeaSingWaedlxm/ posts/458014314217702
- หลักเบื้องต้นเกี่ยวกับธุรกิจ ( Principle  of  Business System
- สว่างไสวด้วยแสงไฟ
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับการจัดวางผัง และ การตกแต่งสำนักงาน
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรือด้านสถาปัตยกรรม,สถาปัตยกรรมภายใน