จุลชีววิทยาอาหาร

Food Microbiology

1.1  อธิบายความหมายและความสำคัญของจุลชีววิทยาอาหาร
1.2  อธิบายชนิดและการเจริญของจุลินทรีย์ที่เกี่ยวข้องกับอาหาร และเป็นสาเหตุให้อาหารเสื่อมเสียหรือเป็นพิษ
1.3  มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานและการตรวจประเมินคุณภาพอาหารทางจุลินทรีย์
1.4  มีทักษะการปฏิบัติในการตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ประเภทต่าง ๆ ในอาหาร
1.5  นำความรู้ ทักษะทางจุลชีววิทยาอาหารที่สำคัญไปประยุกต์ใช้ในการทำงานจริง และการใช้ชีวิตได้
2.1  เพื่อให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) กระทรวงศึกษาธิการ
2.2  เพื่อปรับปรุงรายละเอียดของวิชาให้เหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ปัจจุบัน และบูรณาการการจัดการเรียนการสอนร่วมกับงานวิจัย ได้แก่
- การพัฒนากระบวนการผลิตและปรับปรุงคุณภาพผลิตภัณฑ์น้ำส้มซูชิ (ชุดโครงการการพัฒนาผลิตภัณฑ์ Innovative house ฝ่ายอุตสาหกรรม สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย และโครงการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมไทย สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ) (งบประมาณ TRF+iTAP ประจำปี 2560)
- การพัฒนาผลิตภัณฑ์พริกแกงปักษ์ใต้แบบก้อนด้วยเทคโนโลยีไมโครเวฟ (ชุดโครงการการพัฒนาผลิตภัณฑ์ Innovative house ฝ่ายอุตสาหกรรม สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย และโครงการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมไทย สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ) (งบประมาณ TRF+iTAP ประจำปี 2559)
ศึกษาเกี่ยวกับความสำคัญของจุลินทรีย์ในอาหาร ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญของจุลินทรีย์ในอาหาร จุลินทรีย์ในผลิตภัณฑ์อาหาร จุลินทรีย์ที่ทำให้อาหารและผลิตภัณฑ์เกิดการเสื่อมเสีย จุลินทรีย์ที่ก่อให้เกิดโรคและการเกิดอาหารเป็นพิษ ผลของกรรมวิธีการถนอมอาหารที่มีผลต่อการรอดชีวิตจุลินทรีย์ จุลินทรีย์ที่ใช้เป็นดัชนีในอาหารมาตรฐานและวิธีการตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ประเภทต่าง ๆ ในอาหาร
Significance of microorganisms in food; factors affecting microbial growth in food; microorganisms in food product; microorganisms causing food deterioration; pathogenic microorganisms and food intoxication; effect of food preservation process on microorganism survival; microorganisms used for food index; standard and analytical method for microorganisms in food.
3.1  วันศุกร์  เวลา 16.00–17.00 น. ห้องพักอาจารย์สาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร โทร.0-5529-8438 ต่อ 1121
3.2  E-mail.  unnop_tas@rmutl.ac.th  เวลา 20.00–21.00 น. วันเสาร์และวันอาทิตย์
1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
1.2 แสดงออกอย่างสม่ำเสมอถึงความซื่อสัตย์สุจริต
 
1. ยกตัวอย่างกรณีศึกษาที่ขาดวินัย และความรับผิดชอบต่อตนเอง และสังคม ในฐานะนักวิทยาศาสตร์การอาหาร ตลอดจนผลกระทบที่ตามมา
2. สอดแทรกและส่งเสริมด้านคุณธรรม จริยธรรมในวิชา มีการตรวจเช็คการเข้าเรียน การแต่งกาย พฤติกรรมต่าง ๆ ในชั้นเรียน
1. การตรวจสอบการเข้าเรียน การตรงต่อเวลา การส่งงาน โดยประเมินทั้งแบบรายบุคคลและรายกลุ่ม
2. ประเมินผลจากพฤติกรรมที่แสดงออกในชั้นเรียน ในการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น การเคารพผู้อาวุโส และอาจารย์
 
2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา
2.3 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการรวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้และมีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลงและเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ ๆ
1. สอนแบบบรรยาย อธิบายเนื้อหาพร้อมยกตัวอย่าง และตั้งคำถาม (Questioning) เพื่อให้เกิดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning) โดยให้นักศึกษาซักถาม และแสดงความคิดเห็น และมีกิจกรรมเสริมนอกชั้นเรียนโดยมีการมอบหมายงานให้เป็นกลุ่ม เพื่อให้นักศึกษาฝึกทำงานร่วมกับผู้อื่น และมีการนำเสนองานที่มอบหมายตามระยะเวลาที่กำหนด
2. ศึกษาจากสถานการณ์จริง มีการอภิปรายกลุ่มย่อย มีการศึกษาด้วยตนเอง และการค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต
 
ทั้งนี้กลยุทธ์ที่จะเลือกใช้ดังกล่าวขึ้นอยู่ด้วยความเหมาะสมกับสถานการณ์และความจำเป็นที่สอดคล้องกันกับองค์ความรู้ในแต่ละหัวข้อหรือบทเรียน
1. การสอบวัดความรู้
2. ถาม-ตอบปัญหาในชั้นเรียน
3. ทำรายงานรายบุคคลหรือรายงานกลุ่มเพื่อประเมินความสนใจการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
4. การนำเสนองานที่ได้มอบหมายในชั้นเรียน
 
3.4 มีทักษะในภาคปฏิบัติที่ได้รับการฝึกฝน ตามเนื้อหาสาระสำคัญของสาขาวิชา
1. วิเคราะห์กรณีศึกษาจากผู้ประกอบการจริง โดยกำหนดผลิตภัณฑ์อาหารแล้วแบ่งกลุ่มให้นักศึกษาประเมินการปนเปื้อนและเสนอแนะวิธีการป้องกันการปนเปื้อน ลด ทำลาย หรือควบคุมปริมาณจุลินทรีย์ในกระบวนการผลิตอาหารและนำเสนอผลการศึกษา
2. การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
3. การนำเสนองานด้วยวาจา รวมกับการอภิปรายผล  พร้อมแนวทางไปสู่การแก้ปัญหา หรือเสนอแนวทางปฏิบัติที่มีความน่าเชื่อถือและความเป็นไปได้บนพื้นฐานของนักวิทยาศาสตร์การอาหาร
1. การเขียนบันทึก
2. การนำเสนองาน
3. ข้อสอบอัตนัย/ปรนัย
 
4.4 สามารถวางแผนและรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
1. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)กิจกรรมการบูรณการร่วมระหว่างการเรียนการสอนกับงานบริการวิชาการสู่ชุมชน
2. จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษาในลักษณะของการทำงานเป็นทีม
3. มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น รายงานบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
4. การนำเสนองานด้วยวาจา
 
1. ประเมินตนเองและเพื่อนด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
2. พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
3. รายงานที่นำเสนอและผลงานที่ทำเป็นกลุ่ม
 
5.1 สามารถระบุและนำเทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง มาใช้ในการวิเคราะห์ แปลความหมาย และเสนอแนวทางในการแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
5.6 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นวัตกรรมและสถานการณ์โลก โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
1. มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จาก website และสื่อต่าง ๆ และทำรายงานโดยเน้นการอ้างอิงจากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ โดนส่วนหนึ่งนักศึกษาจะต้องค้นคว้าจากวารสารหรือฐานข้อมูลที่เป็นภาษาอังกฤษ
2. นำเสนองานกลุ่มต่อชั้นเรียนโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม พร้อมข้อเสนอแนะเพื่อเน้นให้นักศึกษาใช้ภาษาที่ถูกต้อง ชัดเจนและกระชับ  รวมถึงการเลือกวิธีการนำเสนอที่เข้าใจง่าย อย่างเป็นระบบ
1. ประเมินจากการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน การนำเสนอความรู้ใหม่
2. การใช้ภาษาไทยที่ถูกต้อง รูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสม ความต่อเนื่องของเนื้อหาที่นำเสนอ
3. การใช้สื่อที่เหมาะสมนำเสนอ
4. เอกสารรายงานของนักศึกษา และการสอบ
6.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการ รวมถึงความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
1.  จัดให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่ม โดยให้ใช้เครื่อง อุปกรณ์ และวิธีการให้ได้มาซึ่งกระบวนการแก้ปัญหาทางด้านจุลชีววิทยาอาหารอย่างเหมาะสม
1.  ประเมินจากความประสบความสำเร็จของงานตามระยะเวลาที่กำหนด และการใช้อุปกรณ์เครื่องมือได้อย่างเหมาะสม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา (Ethics and Moral) 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ (Knowledge) 3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา (Cognitive Skills) 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา (Interpersonal Skills and Responsibility) 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills) 6. ด้านทักษะปฏิบัติ (Psychomotor Skill)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ 1.2 แสดงออกอย่างสม่ำเสมอถึงความซื่อสัตย์สุจริต 1.3 มีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม 1.4 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม 1.5 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 มีความรู้ในสาขาอื่น ได้แก่ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ การบริหารจัดการ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ สามารถบูรณาการความรู้ในที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 2.3 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการรวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้และมีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลงและเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ ๆ 2.4 รู้กฎระเบียบ ข้อกำหนดทางเทคนิค รวมทั้งการปรับเปลี่ยนตามกาลเวลาเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป 3.1 มีความสามารถในการ ค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจและประเมินข้อมูลสารสนเทศ แนวคิดและหลักฐานใหม่ ๆ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายและใช้ข้อสรุปที่ได้ในการแก้ไขปัญหาหรืองานอื่น ๆ โดยไม่ต้องอาศัยคำแนะนำ 3.2 สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบในการวิเคราะห์ปัญหาที่ซับซ้อน และเสนอแนวทางแก้ไขอย่างสร้างสรรค์ 3.3 สามารถใช้ทักษะและความเข้าใจ ในบริบททางวิชาชีพและวิชาการ เช่น การตรวจวิเคราะห์อาหาร การควบคุมและประกันคุณภาพ การวิจัย และงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 3.4 มีทักษะในภาคปฏิบัติที่ได้รับการฝึกฝน ตามเนื้อหาสาระสำคัญของสาขาวิชา 4.1 มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายทั้งของตนเองและรับผิดชอบในกลุ่ม 4.2 สามารถปรับตัวทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำกลุ่มและสมาชิกกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 วางตัวและแสดงความคิดเห็นได้เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ 4.4 สามารถวางแผนและรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง 5.1 สามารถระบุและนำเทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง มาใช้ในการวิเคราะห์ แปลความหมาย และเสนอแนวทางในการแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ 5.2 สามารถสรุปประเด็นและสื่อสารทั้งการพูดและการเขียน รู้จักการเลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่องและผู้ฟังที่ต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.3 สามารถระบุ เข้าถึง และคัดเลือกแหล่งข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสาระสำคัญของวิชานั้น ๆ จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศทั้งในระดับชาติและนานาชาติ 5.4 มีวิจารณญาณในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เหมาะสม และใช้อย่างสม่ำเสมอเพื่อการรวบรวมข้อมูล 5.5 สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดเก็บข้อมูลต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม 5.6 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นวัตกรรมและสถานการณ์โลก โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 5.7 สามารถใช้ภาษาไทยได้อย่างถูกต้องทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน และภาษาอังกฤษในระดับใช้งานได้อย่างเหมาะสม 6.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการ รวมถึงความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
1 BSCFT010 จุลชีววิทยาอาหาร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ 1.2 แสดงออกอย่างสม่ำเสมอถึงความซื่อสัตย์สุจริต 4.4 สามารถวางแผนและรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง - จำนวนครั้งการเข้าเรียนต้องเกิน 80% - การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน - การส่งงานตรงเวลา - คะแนนกิจกรรมส่วนมหาวิทยาลัย - ความมีน้ำใจต่อเพื่อนและคณาจารย์ ทุกสัปดาห์ 10%
2 2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา 2.3 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการรวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้และมีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลงและเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ ๆ 3.4 มีทักษะในภาคปฏิบัติที่ได้รับการฝึกฝน ตามเนื้อหาสาระสำคัญของสาขาวิชา 5.1 สามารถระบุและนำเทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง มาใช้ในการวิเคราะห์ แปลความหมาย และเสนอแนวทางในการแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ - การสังเกต - การสอบย่อย (Quit) - รายงานผลปฏิบัติการ การนำเสนอบทปฏิบัติการ และอภิปรายผลภาควาจา - การสอบปลายภาค (แลบกริ๊ง) - ไม่ทุจริตในการสอบ 1–17 (เว้น 9) 35%
3 2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา - การสอบกลางภาค (หน่วยที่ 1-4) - ไม่ทุจริตในการสอบ 9 22%
4 2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา - การสอบปลายภาค (หน่วยที่ 5-7) - ไม่ทุจริตในการสอบ 18 23%
5 2.3 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการรวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้และมีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลงและเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ ๆ 4.4 สามารถวางแผนและรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง5.1 สามารถระบุและนำเทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง มาใช้ในการวิเคราะห์ แปลความหมาย และเสนอแนวทางในการแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ 5.6 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นวัตกรรมและสถานการณ์โลก โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการ รวมถึงความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ - การนำเสนองาน/งานมอบหมาย 16,17 10%
ธีรพร กงบังเกิด.  2546.  จุลชีววิทยาทางอาหาร.  ภาควิชาอุตสาหกรรมเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร, พิษณุโลก.
สุมณฑา วัฒนสินธุ์.  2545.  จุลชีววิทยาทางอาหาร.  คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.  พิมพ์ครั้งที่ 1.  โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพมหานคร
สุวิมล กีรติพิบูล.  2545.  การควบคุมจุลินทรีย์ในโรงงานอุตสาหกรรม เล่ม 2.  พิมพ์ครั้งที่ 1.  สำนักพิมพ์สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น), กรุงเทพมหานคร.
อรรณพ ทัศนอุดม.  2559.  เอกสารประกอบการสอน จุลชีววิทยาอาหาร.  สาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร สาขาอุตสาหกรรมเกษตร คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก, พิษณุโลก.
อัจฉรา แสนคม และ อรรณพ ทัศนอุดม.  2562.  การประเมินการเปลี่ยนแปลงคุณภาพและความปลอดภัยของข้าวซูชิพร้อมบริโภคที่ผลิตจากน้ำส้มซูชิสูตรซากุระคอลลาเจน.  วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร 50(1พิเศษ): 518–525.
อัจฉรา แสนคม  หมุดตอเล็บ หนิสอ  อรรณพ ทัศนอุดม และวราศรี แสงกระจ่าง.  2562.  การพัฒนาผลิตภัณฑ์พริกแกงปักษ์ใต้แบบก้อนด้วยเทคโนโลยีไมโครเวฟ.  วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร 50(1พิเศษ): 489–495.
Jay, J.M.  2000.  Modern Food Microbiology.  6th ed., Aspen Publishers, Inc., Gaithersburg, Maryland, USA.
Ray, B. and A. Bhunia.  2000.  Fundamental Food Microbiology.  4th ed., CRC Press, London, New York, USA.
อัญชลี ตัณฑ์ศุภศิริ.  2548. คลอสตริเดียมเปอร์ฟริงเจนส์ที่สำคัญทางการแพทย์และสาธารณสุขและการตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ.  พิมพ์ครั้งที่ 1.  ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, กรุงเทพมหานคร.
Cliver, D.O.  1990  Modern Foodborne Diseases.  6th ed., Academic Press, Inc., San Diego, California, USA.
Downes, F.P. and K.A. Ito.  2001.  Compendium of Methods for the Microbiological Examination of Foods.  4thed.  American Public Health Association, Washington D.C.
Rhodehamel, E.J. and S.M. Harmon.  2001.  Clostridium perfringens: FDA's Bacteriological Analytical Manual (BAM) Online.  Available Source: http://www.fda.gov/Food/ ScienceResearch/LaboratoryMethods/BacteriologicalAnalyticalManualBAM/UCM070878, January 10, 2014.
- สำนักระบาดวิทยา กองควบคุมโรค                                     http://203.157.15.110/boe/home.php
- สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ                   http://www.acfs.go.th/index.php
- the Rapid Alert System for Food and Feed       http://ec.europa.eu/food/safety/rasff/index_en.htm
- U.S. Food and Drug Administration                     http://www.fda.gov
- Journal of Food Safety        http://onlinelibrary.wiley.com/journal/10.1111/(ISSN)1745-4565
- Food Microbiology             http://www.journals.elsevier.com/food-microbiology/
- Food Control                    http://www.journals.elsevier.com/food-control/
- International Journal of Food Microbiology           http://www.journals.elsevier.com/ international-journal-of-food-microbiology/
- www.scopus.com/
- www.sciencedirect.com
1.1  แบบประเมินประสิทธิผลของรายวิชาจากมหาวิทยาลัย ฯ โดยนักศึกษาเมื่อหมดภาคการศึกษา
1.2  แบบประเมินผู้สอนในแต่ละรายวิชาจากมหาวิทยาลัย ฯ โดยนักศึกษาเมื่อหมดภาคการศึกษา
1.3  แบบเสนอแนะ/ข้อคิดเห็น ในการจัดการเรียนการสอนแต่ละรายวิชา ที่ประเมินโดยนักศึกษา
2.1  สาขาวิชาแต่งตั้งกรรมการประเมินการสอนของสาขาวิชา โดยมีหัวหน้าสาขาวิชา ในฐานะประธานหลักสูตรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร และอาจารย์ประจำหลักสูตรอย่างน้อย 1 ท่าน เป็นผู้ทำหน้าที่ในการประเมินการสอน โดยการสุ่มรายวิชาอย่างน้อย 3 รายวิชา ที่เปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษา
3.1  นำผลการประเมินรายวิชาและผลการประเมินผู้สอนในปีการศึกษาที่ผ่านมา  มาใช้ในการปรับปรุงและกำหนดกิจกรรม และแผนการสอน
3.2  ปรับปรุงการสอนโดยเพิ่มเติมข้อมูลทางวิชาจากที่เป็นปัจจุบัน ทันสมัย และบูรณาการข้อมูลหรือความรู้ที่ได้จากงานวิจัย ข้อมูลจากการฝึกอบรมต่าง ร่วมกับข้อมูลที่นักศึกษาประเมิน ข้อมูลจาก มคอ.5 จากปีการศึกษาที่ผ่านมา และคำแนะนำจากอาจารย์ผู้ที่มีประสบการณ์การสอนรายวิชาจุลชีววิทยาอาหาร รวมถึงวิธีการสอน เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ที่ดีขึ้นแก่นักศึกษา
4.1  มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร โดยกำหนดให้อาจารย์ผู้สอน มีการรายงานวิธีการที่ใช้ในการประเมิน เกณฑ์การประเมิน และผลการประเมินของนักศึกษา
4.2  คณะกรรมการบริหารหลักสูตร นำผลการเปรียบเทียบหารือและทำความเข้าใจกับอาจารย์ผู้สอน พร้อมทั้งหาแนวทางพัฒนา
5.1  ปรับปรุงรายวิชาตามข้อเสนอแนะ และผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4.1
5.2  เพิ่มจำนวนผู้สอนร่วมในบางหน่วยเรียน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเนื้อหาวิชา และการนำไปประยุกต์ใช้ที่หลากหลายยิ่งขึ้น
โดยหากมีการเปลี่ยนแปลงการดำเนินการจะนำเสนอในที่ประชุมสาขาวิชา เพื่อพิจารณาต่อไป