ศิลปะการจัดดอกไม้เพื่องานธุรกิจอาหาร

Art in Flower Arrangement for Food Business

     เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ  ดังนี้
ให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดดอกไม้เบื้องต้นและหลักการออกแบบ การเลือก การเตรียม และทักษะการจัดดอกไม้รวมถึงการวางแผนการดำเนินงานธุรกิจการจัดดอกไม้
 
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถนำไปเป็นพื้นฐานการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน นำไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ศึกษาหลักศิลปะ และการประยุกต์องค์ประกอบในธุรกิจการจัดดอกไม้ที่เกี่ยวข้องกับงานอาหาร เทคนิคการลดต้นทุน และการเพิ่มมูลค่าการใช้ดอกไม้ไทยในงานสากล และงานที่เกี่ยวข้องกับะุรกิจอาหาร
   3.1 วัน จันทร์ เวลา 12.00 – 17.00 น. ห้องพักครูสาขาอุตสาหกรรมเกษตร โทร 089 6386085
    3.2  viriyajaree@hotmail.co.th เวลา 08.00 – 17.00 น. ทุกวัน
1.  ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
šมีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
˜ มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
šมีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
šเคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
ปฏิบัติตามระเบียบของการปฏิบัติการจัดดอกไม้เพื่องานธุรกิจอาหาร กำหนดให้นักศึกษาแบ่งเวรรับผิดชอบในการซื้อวัตถุดิบมาใช้ร่วมกันในชั้นเรียนและสังเกตจากการทำงานร่วมกันของกลุ่ม ตามที่ได้รับมอบหมาย การสอนภาคทฤษฎีและปฏิบัติมีการตรวจเช็คความตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบในการทำงานกลุ่มที่ต้องฝึกปฏิบัติการจัดดอกไม้เพื่องานธุรกิจอาหาร

         รับฟังการแสดงความคิดเห็นของเพื่อนในการทำงานกลุ่มร่วมกัน
 
 
- ประเมินผลจากพฤติกรรมที่แสดงออกในชั้นเรียน และการปฏิบัติการจัดดอกไม้เพื่องานธุรกิจอาหารที่ได้รับมอบหมายเป็นกลุ่มและรายบุคคล
- การส่งงานการบ้านที่ได้รับมอบหมายและการเตรียมวัสดุในการทำงานกลุ่ม
- ตรวจสอบการมีวินัยต่อการเรียน การตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียนและการส่งรายงาน
- ประเมินผลจากการมีส่วนร่วมในการให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมกลุ่มร่วมกัน
 
 
2.  ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ
˜มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
˜สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
šสามารถบูรณาการความรู้กับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
ใช้การสอนแบบบรรยาย ร่วมกับการใช้สื่อทางเทคโนโลยี และเปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคำถามและตอบคำถาม ใช้การสอนจากสื่อที่มีข้อมูลความเกี่ยวข้องทางด้านการฝึกปฏิบัติจัดดอกไม้เพื่องานธุรกิจอาหาร

การสอนด้วยการให้นักเรียนดัดแปลงสูตรขนมไทยให้ร่วมสมัยหรือเป็นการอนุรักษ์ตามเทศกาลและประเพณี
การสอบย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาค การส่งงานในการเลือกใช้วัสดุ-อุปกรณ์การจัดดอกไม้

          - การทำรายงานเรื่องการออกแบบการจัดดอกไม้เชิงธุรกิจ
3.  ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา
˜มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
˜มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
การสอนโดยการนำตัวอย่างการจัดดอกไม้ในรูปต่างและวัสดุ-อุปกรณ์ในการจัดดอกไม้เชิงธุรกิจ

       -  การสอนแบบบูรณาการให้นักศึกษาออกไปฝึกการจัดดอกไม้กับผู้ประกอบการ
       - การสอนแบบใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการออกแบบ
- การเตรียมตัวก่อนเข้าเรียนและความพร้อมในการฝึกปฏิบัติ
- การฝึกปฏิบัติและทักษะในการเรียนในชั้นเรียน
-การส่งงานชิ้นงานที่สำเร็จ
 
4.  ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา
˜มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยามสังคมที่ดี
˜มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
šสามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
šสามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
การปฏิบัติงานของนักศึกษาที่นักศึกษาต้องมีปฏิสัมพันธ์ของนักศึกษาจากกิจกรรมการเรียนการสอนในชั่วโมงปฏิบัติการ มอบหมายงานกลุ่มจากกิจกรรมการเรียนการสอนในชั่วโมงปฏิบัติการ การทำงานกลุ่มร่วมกันในการฝึกปฏิบัติการจัดดอกไม้ในงานพิธีต่างๆ

      -   การร่วมทำกิจกรรมในการจัดดอกไม้ในงานซ้อมพิธีพระราชทานรับปริญญาของรุ่นพี่
- ประเมินจากการมีส่วนร่วมในกิจกรรมที่จัดขึ้น
- ผลงานที่สำเร็จ
.  ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร  และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
šสามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้เหมาะสม
šสามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
šสามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่าง ประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การสอนโดยใช้อินเตอร์เน็ต การมอบหมายงานที่ต้องมีการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศในการทำรายงาน

       -   การนำเสนองานที่ได้รับมอบหมาย
  - ประเมินทักษะการจัดเตรียม วัสดุ-อุกรณ์และวิธีการเลือกใช้ดอกไม้ได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
 - ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการฝึกปฏิบัติในแต่ละชั่วโมงปฏิบัติงาน
 - ประเมินรายงานการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 BSCFN146 ศิลปะการจัดดอกไม้เพื่องานธุรกิจอาหาร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านคุณธรรม จริยธรรม การเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย การเตรียมความพร้อมทั้งวัสดุและอุปกรณ์ การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10 %
2 ด้านความรู้ สอบปฏิบัติ สอบกลางภาค สอบปลายภาค 16 9 17 10 % 15 % 15 %
3 ด้านทักษะทางปัญญา สอบกลางภาค สอบปลายภาค ภาคปฏิบัติการออกแบบชิ้นงานการจัดดอกไม้ 9 17 16 10 % 10 % 10 %
4 ด้านความสัมพันธ์ความรับผิดชอบ การให้คะแนนของเพื่อนร่วมห้อง ตลอดภาคเรียน 5 %
5 ด้านการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร รูปเล่มรายงานและการรายงาน 1-16 10%
6 ด้านการปฏิบัติงาน การสังเกตการณ์ปฏิบัติงาน งานที่มอบหมาย และผลงานสำเร็จ (ภาคปฏิบัติ) ตลอดภาคเรียน 5 %
เศรษฐมันตร์  กาญจนกุล. 2554. สุดยอดไอเดียการจัดดอกไม้. เศรษฐสิลป์.
เศรษฐมันตร์  กาญจนกุล. 2556. ศิลปะการจัดดอกไม้ พฤกษาตะวันออก. เศรษฐสิลป์.
นภัทร ทองแย้ม, 2558. งานฝีมือสุดคุ้ม ชุด การจัดดอกไม้ร่วมสมัย. วาดศิลป์.
กรีติ ชนา.มปป. ชวนจัดดอกไม้กับ กรีติ ชนา. ปลายสวน.
ปราณชนก แดงเป้า. 2545. การจัดดอกไม้. โอเดียนสโตร์
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
2.1   การประเมินผลจากงานที่มอบหมาย
2.2   การประเมินผลจากผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การสังเกตพฤติกรรมและการมีส่วนร่วม
2.4   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1   การวิจัยนอกชั้นเรียน
3.2   การจัดกิจกรรมศึกษานอกสถานที่
3.3   เชิญบุคลากรในชุมชนให้มีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือ
                     ผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
              4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา
                     โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
             5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐาน
                    ผลสัมฤทธิ์
             5.2  เชิญบุคลากรในชุมชนมามีส่วนร่วมในการเรียนการสอนเพื่อให้นักศึกษามีมุมมองที่
                    กว้างและรู้จัก ประยุกต์ ความรู้ที่ได้ให้เกิดประโยชน์มากที่สุด