ขนมไทย

Thai Desserts

     เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ  ดังนี้

ทราบถึงความรู้เบื้องต้นของวิชาขนมไทย เข้าใจเลือกใช้วัตถุดิบเครื่องปรุงและอุปกรณ์ในการทำขนมไทย อธิบายการประกอบขนมไทยเพื่อใช้ในโอกาสและเทศกาลต่างๆ เข้าใจศิลปะการตกแต่งขนมไทยเพื่อการอนุรักษ์และเพื่อธุรกิจ มีทักษะในการประยุกต์ใช้วิธีการประกอบขนมไทย

 
        เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับขนมไทย วัตถุดิบและอุปกรณ์ในการประกอบขนมไทย หลักและวิธีการประกอบขนมไทย การประกอบขนมไทยเพื่อใช้ในโอกาสและเทศกาลต่างๆการเลือกภาชนะและตกแต่งขนมไทย
         ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับขนมไทย วัตถุดิบและอุปกรณ์ในการประกอบขนมไทย หลักและวิธีการประกอบขนมไทย การประกอบขนมไทยเพื่อใช้ในโอกาสและเทศกาลต่างๆการเลือกภาชนะและตกแต่งขนมไทย
จำนวนชั่วโมงบรรยายต่อสัปดาห์                   1        ชั่วโมง
šมีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
˜ มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
šมีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
šเคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
ปฏิบัติตามระเบียบของการปฏิบัติการขนมไทย กำหนดให้นักศึกษาแบ่งเวรรับผิดชอบในการซื้อวัตถุดิบมาใช้ร่วมกันในชั้นเรียนและสังเกตจากการทำงานร่วมกันของกลุ่ม ตามที่ได้รับมอบหมาย การสอนภาคทฤษฎีและปฏิบัติมีการตรวจเช็คความตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบในการทำงานกลุ่มที่ต้องประกอบขนมไทย

รับฟังการแสดงความคิดเห็นของเพื่อนในการทำงานกลุ่มร่วมกัน
- ประเมินผลจากพฤติกรรมที่แสดงออกในชั้นเรียน และการปฏิบัติการประกอบขนมไทยที่ได้รับมอบหมายเป็นกลุ่มและรายบุคคล
- การส่งงานการบ้านที่ได้รับมอบหมายและการเตรียมวัสดุในการทำงานกลุ่ม
- ตรวจสอบการมีวินัยต่อการเรียน การตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียนและการส่งรายงาน
- ประเมินผลจากการมีส่วนร่วมในการให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมกลุ่มร่วมกัน
˜มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
˜สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
šสามารถบูรณาการความรู้กับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
ใช้การสอนแบบบรรยาย ร่วมกับการใช้สื่อทางเทคโนโลยี และเปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคำถามและตอบคำถาม ใช้การสอนจากสื่อที่มีข้อมูลความเกี่ยวข้องทางด้านขนมไทย

การสอนด้วยการให้นักเรียนดัดแปลงสูตรขนมไทยให้ร่วมสมัยหรือเป็นการอนุรักษ์ตามเทศกาลและประเพณี
การสอบย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาค การส่งงานในเรื่องวัสดุ-อุปกรณ์และสูตรขนมไทย

- การทำรายงานสูตรขนมไทย
˜มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
˜มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
การสอนโดยการนำตัวอย่างขนมไทยแต่ละภาคและวัตถุดิบในการประกอบขนมไทย

การสอน
- การฝึกปฏิบัติและทักษะในการเรียนขนมไทยในชั้นเรียน
-การส่งงานขนมไทย
- ประเมินจากการฝึกปฏิบัติและทักษะในการเรียนขนมไทย
˜มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยามสังคมที่ดี
˜มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
šสามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
šสามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
มอบหมายงานกลุ่มจากกิจกรรมการเรียนการสอนในชั่วโมงปฏิบัติการ การทำงานกลุ่มร่วมกันในการฝึกปฏิบัติการอาหารไทยจำนวนมากไปเลี้ยงน้องในวันงานเด็ก

การร่วมทำกิจกรรมในการประกอบอาหารไทยไปทำบุญ
ประเมินการมีส่วนร่วมในกิจกรรมที่จัดขึ้น
šสามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้เหมาะสม
šสามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
šสามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่าง ประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การสอนโดยใช้อินเตอร์เน็ต การมอบหมายงานที่ต้องมีการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศในการทำรายงาน

การนำเสนองานที่ได้รับมอบหมาย
- ประเมินทักษะการชั่ง ตวง
- ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการฝึกปฏิบัติในแต่ละชั่วโมงปฏิบัติงาน
- ประเมินรายงานการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 BSCFN141 ขนมไทย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านคุณธรรม จริยธรรม การเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย การเตรียมความพร้อมทั้งวัสดุและอุปกรณ์ การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10 %
2 ด้านความรู้ สอบปฏิบัติ สอบกลางภาค สอบปลายภาค 16 9 17 10 % 15 % 15 %
3 ด้านทักษะทางปัญญา สอบกลางภาค สอบปลายภาค ภาคปฏิบัติขนมไทย 9 17 16 10 % 10 % 10 %
4 ด้านความสัมพันธ์ความรับผิดชอบ การให้คะแนนของเพื่อนร่วมห้อง ตลอดภาคเรียน 5 %
5 ด้านการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร รายงานเรื่องสูตรขนมไทย 1-17 10%
6 ด้านการปฏิบัติงาน การสังเกตการณ์ปฏิบัติงาน งานที่มอบหมาย และผลงานสำเร็จ (ภาคปฏิบัติ) ตลอดภาคเรียน 5 %
เอกสารประกอบการสอนขนมไทย วิรัติ จันทรทรัพย์
เอกสารประกอบการสอนขนมไทย สุรเชษฐ สถาบันฝึกฝีมือแรงงานจังหวัดตาก
พงษ์ศักดิ์ ทรงพระนาม. เอกสารเผยแพร่ 2/2542 ขนมไทยโบราณ. ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมคหกรรม ศาสตร์ คณะคหกรรมศาสตร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา, กรุงเทพฯ.
 จันทร ทศานนท์. 2527. ขนมไทย. กรุงเทพฯ.
2. กรมการแพทย์, 2540. อาหารพื้นบ้าน 4 ภาค. กระทรวงสาธารณสุข, กรุงเทพฯ
ทัศนีย์ โรจนไพบูลย์. 2542. เทคโนโลยีอาหารและเครื่องดื่ม หน่วยที่ 12. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, นนทบุรี.
 สายปัญญา, สมาคม. 2541 ต ารับสายเยาวภา บอกวิธีปรุงอาหารคาวหวาน. กรุงสยามการพิมพ์, พระ นคร.
 อโนทัย เจนตนเสน และคณะ. 2517. คุณค่าทางโภชนาการของขนมไทย. โภชนาการสาร (ม.ค.-มี.ค.) ปีที่ 8 ฉบับที่ 3.
จรูญศรี พลเวียง. ม.ป.ป. เคล็ดลับการท าขนมไทย.
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%82%E0%B8%99%E0%B8%A1%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2
https://www.sanook.com/women/110745/
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 รายงานผลการปฏิบัติการทำขนมไทย
1.2 ความสนใจและตั้งใจในการทำงาน
1.3 ผลการเรียนของนักศึกษา
1.4 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินเพื่อนในรายวิชา
กลยุทธ์ในการประเมินการสอนในรายวิชานี้ ดูผลจากผลการประเมินผู้สอนของนักศึกษาและนำข้อมูลที่ได้มาดำเนินการปรับปรุงหรือเพิ่มประสิทธิภาพการสอนต่อไป
- แก้ไข้ข้อผิดพาดการทำสูตรขนมไทย
- ปรับปรุงขั้นตอนการเตรียมวัตถุดิบ
- การทำรายงานขนมไทย
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการโดยดูจากผลการประเมินของนักศึกษาที่มีต่อรายวิชากระบวนการแปรรูป
4.2   มีการสุ่มตรวจของผู้รับผิดชอบหลักสูตร
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก5 ปีหรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   มีการนำแนวคิดการแปรรูปอาหารแบบใหม่ที่ได้จากงานวิจัยเข้ามาใช้ในการปรับปรุงการสอนให้ดีเพิ่มขึ้น