ภูมิอากาศพืชและการจัดการน้ำ

Plant Climate and Water Management

1.1 รู้และเข้าใจสภาพอากาศ ภูมิอากาศที่มี ต่อการปลูกพืช
1.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่าง ดิน น้ำ กับการปลูกพืช
1.3 รู้และเข้าใจกระบวนการและวิธีการให้น้ำ
1.4 เข้าใจระบบชลประทานในการผลิตพืช
1.5 เข้าใจและวิเคราะห์ประสิทธิภาพในการใช้น้ำในการผลิตพืช
ไม่มีเนื่องจากเป็นรายวิชาตามหลักสูตรที่ปรับปรุงขึ้นใหม่เมื่อพ.ศ. 2560 และเพิ่งมีการเรียนการสอนเป็นครั้งแรกในภาคการศึกษานี้
: ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับภูมิอากาศ และน้ำในการผลิตพืชความสัมพันธ์ระหว่างภูมิอากาศ ดิน น้ำและพืช ระบบการชลประทานในการผลิตพืชและการประเมินประสิทธิภาพการใช้น้ำในการผลิตพืช
2 ชั่วโมง/สัปดาห์ : วันพุธเวลา 15.00 - 17.00 น.
1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral)
˜ 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
š 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
˜ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
š1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
การสอนแบบปฏิบัติรายบุคคล
1.ประเมินจากความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย
- ปฏิบัติงานทดลองโดยคำนึงถึงผลกระทบต่อสังคม สิ่งแวดล้อม
- การเสนอโครงงานเพื่อช่วยเหลือสังคม
- การปฎิบัติงานที่มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน
- งานที่เสร็จตามเวลา
2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge)
˜ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
™ 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
™ 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
การสอนแบบปฏิบัติรายบุคคล บรรยาย
1.งานที่ปฏิบัติตามสภาพจริงที่ต้องบูรณาการความรู้จากศาสตร์ต่างๆ
2.รายงานทางวิชาการ
3.การนำเสนองาน
˜ 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
™ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
การสอนแบบปฏิบัติรายบุคคล บรรยาย
1.งานที่ปฏิบัติตามสภาพจริงที่ต้องบูรณาการความรู้จากศาสตร์ต่างๆเพื่อให้งานบรรลุเป้าหมาย
2.รายงานทางวิชาการ
3.การนำเสนองาน
˜ 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
š 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
š 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม

4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility)
˜ 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
š 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
š 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
˜ 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
การสอนแบบปฏิบัติรายบุคคล และบรรยาย
1.สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการดำเนินงาน
˜ 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
š 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
˜5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ใช้ Power point
มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยวิธีโปสเตอร์ และวาจา
1.แฟ้มสะสมงาน
2.การเขียนบันทึก
3.โครงการกลุ่ม
4.นิทรรศการ
5.การสังเกต
6.การนำเสนองาน
7.การประเมินตนเอง
8.การประเมินโดยเพื่อน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 BSCAG112 ภูมิอากาศพืชและการจัดการน้ำ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1.1,1.1.2,1.1.3 ประเมินจากความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย 1-15 15%
2 2.1.1,2.1.3,3.1.1, 3.1.2,4.1.1,4.1.3, 5.1.2,6.1.1,6.1.2 1.งานที่ปฏิบัติตามสภาพจริงที่ต้องบูรณาการความรู้จากศาสตร์ต่างๆ 2.รายงานทางวิชาการ 3.การดำเนินงาน 1-15 60%
3 5.1.2,1.1.3,6.1.3 1. สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการดำเนินงาน 2.ความสมบูรณ์ของข้อมูลที่รายงานและการอ้างอิงที่ถูกต้อง 3.การนำเสนองาน 1-15 25%
- พงศธร ศิริอ่อน , วิศวกรรมระบายน้ำ ,วิทยาลัยการชลประทาน สถาบันสมทบ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพ ฯ
- พันจันทร์ ธนวัฒนเสถียร , สิทธิพัฒน์ จำนงศิลป , ยุทธชัย รุจิวิมล , Macromedia Dreamweaver MX
- มนตรี ค้ำชู , ชลศาสตร์จุลภาค , วิทยาลัยการชลประทาน , สถาบันสมทบ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพ ฯ
- วสันต์ บุญเกิด , การออกแบบระบบชลประทานในไร่นา , วิทยาลัยการชลประทาน สถาบันสมทบ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพ ฯ
- วิบูลย์ บุณยธโรกุล , รศ.ดร.2526.หลักการชลประทาน , วิทยาลัยการชลประทาน สถาบันสมทบ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพ ฯ
- สุรวุฒิ กอสุวรรณศิริ , 2544 ,เสริมแต่งโฮมเพจครั้งใหม่ ให้มีชีวิตชีวาด้วย JavaScript อรุณ อินทรปาลิต ,การวางแผนและออกแบบระบบการส่งน้ำ , วิทยาลัยการชลประทาน สถาบันสมทบ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพ ฯ
ข้อมูลทางอุตุนิยมวิทยา
1.กลยุทธ์ การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
     1.1 ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ทางด้านวิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ที่ส่งผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงรายวิชาโดยการสัมภาษณ์
     1.2 ประเมินการจัดการเรียนการสอนรายวิชาโดยใช้แบบสอบถามของมหาวิทยาลัย
2. กลยุทธ์การประเมินการสอน :พิจารณาจากผลการปฏิบัติงานของนักศึกษา
3. การปรับปรุงการสอน  : พบนักศึกษาให้นักศึกษานำเสนอโครงร่างและปรับเพื่อดำเนินงานให้คำแนะนำนักศึกษา การเขียนอ้างอิงโดยจัดอาจารย์ให้คำแนะนำตามสายงาน
4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา  : 
     - ทวนสอบจากการวัดผลการเรียนรู้ที่กำหนดในหมวดที่4และ5(2)
     - ทวนสอบจากผลงานของนักศึกษาทั้งหมด
5. การดำเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
     - แจกคู่มือและอธิบายให้กับนักศึกษาทั้งห้อง รายกลุ่มและรายบุคคล