เคมีสำหรับวิศวกร

Chemistry for Engineers

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้
1. เข้าใจพื้นฐานของทฤษฎีอะตอมและมวลสารสัมพันธ์ สมบัติของก๊าซ ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย
2. เข้าใจหลักการของสมดุลเคมี สมดุลไอออนในน้ำ อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
3. เข้าใจโครงสร้างทางอิเล็กตรอนของอะตอม พันธะเคมี สมบัติตามตารางธาตุ
4.   เข้าใจหลักการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์  โดยใช้ความรู้ทางเคมี
1. ให้นักศึกษามีความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีทางเคมีพื้นฐานเพิ่มขึ้น
2. นักศึกษานำความรู้และทักษะไปประยุกต์ใช้กับรายวิชาอื่นที่เกี่ยวข้อง
3. เพื่อให้เนื้อหาสมบูรณ์สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในโลกปัจจุบัน
ศึกษาเกี่ยวกับ พื้นฐานทางทฤษฎีอะตอม โครงสร้างทางอิเล็กตรอนของอะตอม สมบัติตามตารางธาตุพีริออดิก  ธาตุเรฟพรีเซนเททีฟ อโลหะและธาตุแทรนซิซัน  พันธะเคมี  ปริมาณสารสัมพันธ์ สมบัติของก๊าซ ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย จลนศาสตร์เคมี    สมดุลเคมี    สมดุลไอออนในน้ำ
เข้ารับคำปรึกษา ณ ห้องพักอาจารย์กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ ห้องศษ. 1311 และ ศษ.1201 วันพุธ เวลา 15.00 - 17.00 น.
โทร: 081-5305099, 084-3746688, 0866593977 หรือติดต่อทาง social media ทุกวัน เวลา 19.00-20.00 น.
ติดต่อทาง E-mail: p_papa28@hotmail.com, karuna.chemiz@gmail.com, s_jaita@yahoo.com เวลา
 
1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
˜*1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.2.1 สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมระหว่างการสอน
1.2.2 กำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆ เพื่อให้นักศึกษามีระเบียบวินัย ตรงต่อเวลา เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.2.3 มอบหมายงานรายบุคคลและงานกลุ่ม
1.3.1 ไม่มีการทุจริตในการทดสอบ
1.3.2 สังเกต บันทึกพฤติกรรมการเรียน การแต่งกายและตรงต่อเวลา
1.3.3 ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
*2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
 2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาการกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
2.2.1 บรรยาย
2.2.2 อภิปราย
2.2.3 การทำงานกลุ่ม
2.2.4 การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา
2.2.5 มอบหมายให้ค้นคว้าหาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุป และเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
2.3.1 ประเมินผลจากการสอบด้วยข้อสอบที่เน้นหลักการและทฤษฎี
2.3.2 ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย
2.3.3 ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล กรณีศึกษา
3.1.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
š*3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
3.2.1 มอบหมายงานให้ค้นคว้าและนำเสนอ
3.2.2 การอภิปรายกลุ่ม
3.2.3 มีการชี้ประเด็นและยกตัวอย่างประกอบในแต่ละหัวข้อ
3.2.4 มีแบบฝึกหัดให้นักศึกษาฝึกแก้ปัญหาในรูปแบบต่างๆ
3.3.1 ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย และการนำเสนอ
3.3.2 ประเมินผลจากการตอบคำถาม การสอบ การวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ
3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
š*4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2 มอบหมายงานกลุ่ม และรายบุคคล
4.2.3 การนำเสนอรายงานและอภิปรายกลุ่ม
4.3.1 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.2 ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง   
5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
˜*5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1 มีการอธิบายเชิงทฤษฎีแล้วแสดงวิธีคำนวณที่สอดคล้องกับทฤษฎีเหล่านั้น
5.2.2 มีการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์และเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการสืบค้น
5.2.3 การนำเสนอโดยใช้รูปแบบ  เครื่องมือ  และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอ โดยใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ หรือคณิตศาสตร์และสถิติ
5.3.2 ประเมินจากความสามารถในการอธิบาย การอภิปรายกรณีศึกษาต่างๆ ที่มีการนำเสนอต่อชั้นเรียน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 2 3 4 1 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 2 3
1 FUNSC201 เคมีสำหรับวิศวกร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3, 2.1, 2.3, 3.2 การเข้าชั้นเรียน,ตรงต่อเวลา ความสุจริตต่อตนเอง ความตั้งใจเรียน การร่วมทำกิจกรรม การส่งรายงานตรงเวลา การนำเสนองาน การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 15%
2 1.3, 1.4, 2.1, 2.2 การทดสอบย่อย 2,3,4,5,6,10,11, 16 30%
3 1.3, 1.4, 2.2, 2.3, 3.1, 3.2, 4.1, 4.2, 4.3, 5.1, 5.2, 5.3 วิเคราะห์กรณีศึกษา ค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ทุกสัปดาห์ 25%
4 1.3, 1.4, 2.1, 2.2 การสอบกลางภาค การสอบปลายภาค 9, 18 15%, 15%
1) อินทิรา หาญพงษ์พันธ์, เคมีทั่วไปสำหรับนิสิตวิศวกรรมศาสตร์, พิมพ์ครั้งที่ ๖, โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ, ๒๕๓๙.
2) คณะอนุกรรมการปรับปรุงหลักสูตรวิทยาศาสตร์สาขาเคมีทบวงมหาวิทยาลัย, เคมีเล่ม ๑, พิมพ์ครั้งที่
๗, สำนักพิมพ์บริษัทไทยร่มเกล้าจำกัด, กรุงเทพฯ, ๒๕๓๖.
3) ชัยยุทธ ช่างสาร, เลิศณรงค์ศรีพนม, เคมีสำหรับวิศวกร, พิมพ์ครั้งที่ ๑, บริษัท ว. เพ็ชรสกุล จำกัด,
กรุงเทพฯ, ๒๕๔๕.
4) ดร. อุดม ศรีโยธา, เคมีทั่วไป เล่ม ๑, พิมพ์ครั้งที่ ๑, สำนักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์, กรุงเทพฯ, ๒๕๑๒.
ทบวงมหาวิทยาลัย เคมีเล่ม ๑-๒, สำนักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์, กรุงเทพฯ, ๒๕๔๐.
5) ประเสริฐ ศรีไพโรจน์ เคมีพื้นฐานเล่ม  1, สุพีเรียพริ้นติ้งเฮาส์, กรุงเทพฯ 2545.
5) กฤษณา ชุติมา หลักเคมีทั่วไป เล่ม 1, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ 2539.
6) กฤษณา ชุติมา หลักเคมีทั่วไป เล่ม 2. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ 2539.
1) ตารางธาตุตารางโลหะ แบบจำลองอะตอม
2) P. W. Atkins, Physical Chemistry, 5th ed., Oxford University Press, Oxford, 1994.
1) โครงการตำราและเอกสารประกอบการเรียนวิชาเคมี, ภาควิชาเคมีคณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ๒๕๓๘.
2) ประภาณีเกษมศรีณ อยุธยา, เคมีทั่วไปเล่ม ๑, ภาควิชาเคมีคณะวิทยาศาสตร์จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย, พิมพ์ครั้งที่ ๕, โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๓๕.
3) http://www.ipst.ac.th/chemistry/home.html
4)http://chemistry.about.com/od/branchesofchemistry/Chemistry_Disciplines.htm
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การประชุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นของผู้ร่วมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 มีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดประชุมเพื่อปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนหรือทำการวิจัย
ในระหว่างกระบวนการเรียนการสอนมีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา เช่น การสอบถามนักศึกษา การตรวจผลงานของนักศึกษา หรือผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 2 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้และประสบการณ์ที่หลากหลาย