เทศกาลและงานประเพณีไทย

Thai Festivals and Traditions

1. เพื่อให้นักศึกษาได้รู้เกี่ยวกับรูปแบบ ลักษณะ องค์ประกอบและประวัติของเทศกาลและงานประเพณีของไทยในแต่ละภูมิภาค
2. เพื่อให้นักศึกษาได้เข้าใจเกี่ยวกับการละเล่นพื้นบ้าน อาหารและผลไม้ไทย หัตถกรรมไทยที่สอดคล้องกับวิถีชีวิต ความเชื่อ ภูมิปัญญาไทยและประเพณี
1. เพื่อให้นักศึกษาได้ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการทำนุบำรุงและอนุรักษ์ประเพณีและวัฒนธรรม
2. เพื่อให้นักศึกษาได้เห็นความสำคัญของเทศกาลและงานประเพณีไทย
3. เพื่อให้นักศึกษาได้มีทัศนคติที่ดีงามต่อเทศกาลและงานประเพณีไทย
ศึกษารูปแบบ ลักษณะ องค์ประกอบ และประวัติของเทศกาลและงานประเพณีในแต่ละภาค
ของประเทศไทย การละเล่นและกีฬาพื้นบ้าน ;วรรณคดีอาหารและผลไม้ หัตกรรม ของฝาก ของที่ระลึกที่สอดคล้องกับวิถีชีวิต ความเชื่อ ภูมิปัญญาไทย และประเพณี ตลอดจนทฤษฏีและแนวทางการทำนุบำรุงและอนุรักษ์ประเพณีและวัฒนธรรม
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านป้ายประกาศ หรือเฟซบุ๊คของสาขาวิชา
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
( เฉพาะรายที่ต้องการ)
ไม่ได้มีการระบุไว้ในแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้
ของรายวิชานี้ใน มคอ.2
2.1.1 มีความรู้ในรายวิชาเทศกาลและงานประเพณีไทยทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างกว้างเป็นระบบ เป็นสากล และทันสมัยต่อสถานการณ์โลก
2.1.2 มีความรู้ที่เกิดจาการบูรณาการความรู้ในศาสตร์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.2.1 การบรรยายภายในชั้นเรียนและถาม-ตอบ
2.2.2 มอบหัวเรื่อง.ให้ค้นคว้าและทำรายงานทั้งเดี่ยวและกลุ่ม
2.2.3 ทำรายงานเปรียบเทียบความรู้จากห้องเรียนกับการทำงานจริง ภาคปฏิบัติ
2.2.4 อภิปรายเป็นกลุ่มโดยให้ผู้สอนตั้งคำถาม ตามระบบการสอนยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
2.2.5 การศึกษานอกสถานที่ลำรายงาน
2.2.6 ฝึกปฏิบัตินอกสถานที่โดยร่วมมือกับมืออาชีพ (professional) ในวิชานั้น
2.3.1 ทดสอบทฤษฏีและปฏิบัติ โดยการสอบย่อยและให้คะแนน
2.3.2 ทดสอบโดยการสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค
2.3.3 ประเมินผลจากการทำงานที่ได้รับมอบหมายและรายงาน
3.1.1 มีความสามารถประมวลและศึกษาข้อมูลเพื่อวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา ข้อโต้แย้ง และสังเคราะห์ได้อย่างถูกต้องตามหลักการ และตามขั้นตอนเชิงวิทยาศาสตร์ รวมทั้งหาแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสมทั้งเชิงกว้างและเชิงลึก
3.1.2 สามารถสาธิต ทักษะในการแก้ปัญหาที่ใช้เหตุผลเชิงวิเคราะห์ให้ผู้อื่นเข้าใจได้
3.1.3 มีความสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาคทฤษฏี ภาคปฏิบัติไปสู่การฝึกประสบการณ์ภาคสนามและการปฏิบัติงานจริง ตามสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม
3.2.1 ฝึกปฏิบัติและจัดทำโครงการเกี่ยวกับงานเทศกาลและประเพณีไทย ตลอดจนการวิจัย
3.2.2 การอภิปรายกลุ่ม
3.2.3 การทำงานที่ได้รับมอบหมายให้ค้นคว้าหรืองานเกี่ยวกับการพัฒนา
3.2.4 การบรรยายโดยผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ประกอบการในสายอาชีพ
3.2.5 กำหนดให้มีทักษะการคำนวณ เช่น การจัดการบริหารในรายวิชา
3.3.1 ประเมินผลจากงานที่มอบหมายให้ทำ
3.3.2 การสอบข้อเขียน
3.3.3 การเขียนรายงาน
4.1.1 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือผู้ร่วมงานและแก้ไขปัญหากลุ่ม
4.1.2 สามารถพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพให้ทันสมัยอย่างต่อเนื่องและตรงตามมาตรฐานสากล
4.2.1 บรรจุเนื้อหาความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในรายวิชา
4.2.2 มอบหมายงานเป็นกลุ่มย่อยและแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ โดยหมุนเวียนกันในกลุ่ม
4.2.3 สอนโดยใช้กรณีศึกษา
4.3.1 ประเมินจากผลงานของกลุ่ม และผลงานของผู้เรียนในกลุ่มที่ได้รับมอบหมายให้ทำงาน
4.3.2 ประเมินตนเอง และประเมินซึ่งกันและกัน
4.3.3 ใช้ประวัติสะสมงาน (portforlio) ในการประเมิน
4.3.4 สังเกตพฤติกรรมในการเรียน
5.1.1 สามารถใช้ภาษาต่างประเทศในการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนอย่างมีประสิทธิภาพ
5.1.3 สามารถสื่อสารกับชาวต่างชาติได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์และวัฒนธรรม
5.2.1 ทดสอบระดับความสามารถทางภาษาในการติดต่อกับคนไทยและต่างชาติโดยการสอบปฏิบัติ
5.2.2 จัดห้องปฏิบัติการฝึกให้ใช้อุปกรณ์ทางการท่องเที่ยวและงานเทศกาล
5.2.3 ฝึกให้นำเสนอผลงานที่ค้นคว้าด้วยตนเองในห้องเรียน
5.3.1 ประเมินผลโดยการสอบข้อเขียนและสอบปฏิบัติ
5.3.2 ประเมินผลจากการนำเสนอผลงาน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1 ทดสอบทฤษฎีและปฏิบัติโดยการสอบย่อยและให้คะแนน 2, 4, 6, 9, 12 20%
2 2.1, 3.1 ทดสอบโดยการสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค สัปดาห์ที่มีการสอบ 40%
3 2.2, 3.1 ประเมินผลจากการทำงานที่ได้รับมอบหมายและรายงาน 16 20%
4 4.1 ประเมินจากผลงานของกลุ่มและผลงานของผู้เรียนในกลุ่มที่ได้รับมอบหมายให้ทำงาน สัปดาห์ที่นำเสนองาน 20%
นิธี สตะเวทิน. เทศกาล งานประเพณีท้องถิ่น. กรุงเทพฯ : กรมวิชาการ, 2546.
เทศกาลและประเพณีไทย. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ, 2527.
2. เอกสาร และข้อมูลสำคัญ
เสฐียรโกเศศ. ประเพณีเนื่องในเทศกาล. พระนคร : สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย, 2506.
 
ถาวร สิกขโกศล. เทศกาลจีนและการเซ่นไหว้. กรุงเทพฯ : มติชน, 2537.
นักศึกษาประเมินผู้สอนโดยกระทำผ่านระบบการประเมินการเรียนการสอนออนไลน์ การเขียนสะท้อนการเรียนรู้ของนักศึกษาภายหลังเสร็จการสอนประจำภาคเรียน ผู้สอนซักถามนักศึกษาในชั้นเรียน
2 มีการประชุมของคณาจารย์ในสาขาวิชาการท่องเที่ยวเพื่อทบทวนและ
เสนอแนะปัญหาการเรียนการสอนเมื่อเสร็จสิ้นภาคเรียน
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1 นำผลการประเมินการเรียนการสอนจากนักศึกษา และผลการประชุมของคณาจารย์
ในสาขาวิชาการท่องเที่ยวมาทบทวนการจัดการเรียนการสอน เมื่อเสร็จสิ้น
ในแต่ละภาคเรียน
3.2 ค้นคว้าหาวิธีการสอนใหม่ๆ
3.3 พัฒนาสื่อการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับรายวิชา
จัดให้มีการประชุมร่วมของคณาจารย์ในสาขาวิชาการท่องเที่ยวเพื่อทบทวนระบบการเรียนการสอนในรายวิชานี้ โดยเฉพาะผลการศึกษาของนักศึกษาประจำภาคเรียน
5.1 มีการบันทึกหลังการสอนรายคาบ
5.2 การประชุมร่วมของคณาจารย์ในสาขาวิชา
5.3 รับฟังข้อเสนอแนะของวิทยากรและบุคคลภายนอกที่เกี่ยวข้อง