เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับการท่องเที่ยวและการบริการ

Information Technology for Tourism and Hospitality

1 นักศึกษามีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ และแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวและการบริการอย่างเหมาะสม 2 นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวและการบริการทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติอย่างเป็นระบบ เป็นสากล และทันสมัยต่อสถานการณ์โลก 3 นักศึกษาสามารถประยุกต์การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวและการบริการได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งสามารถพัฒนาทักษะการทำงานให้เกิดประสิทธิผล 4 นักศึกษาสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร เลือกรูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมกับเรื่อง และผู้ฟังที่แตกต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5 นักศึกษาสามารถนำทักษะ ความรู้ทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวและการบริการในการปฏิบัติงานขั้นพื้นฐานได้
2.1.คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ที่ต้องการสอดแทรกในรายวิชา 2.1.1 นักศึกษาสามารถอธิบายความสำคัญของการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในธุรกิจการท่องเที่ยว 2.1.2 นักศึกษาสามารถปฏิบัติงานเบื้องต้นในออกแบบเครื่องมือ/เลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 2.2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา: เพื่อพัฒนาให้รายวิชามีความทันสมัย สอดคล้องต่อบริบททางสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป และสอดคล้องต่อความต้องการของผู้เรียน
ความสำคัญของระบบสารสนเทศที่มีต่อการท่องเที่ยวและการบริการ การนำระบบสารสนเทศมาใช้ในการจัดการข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อส่งเสริมการขายสินค้าและบริการ การโฆษณาประชาสัมพันธ์ การฝึกและการทดลองโปรแกรมสำเร็จรูปสำหรับงานท่องเที่ยวและการบริการ การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในการดำเนินงานและประเมินผล           A study of Importance of information technology in tourism and hospitality; information technology management; information technology for products and service promotion, advertisement, and public relations; computer program training and examining in tourism and hospitality; and applying computer in operation and assessment
 -   อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์ของหลักสูตร  -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
ความรู้ที่ต้องได้รับ
มาตรฐานผลการเรียนรู้ของ สาขาวิชาการท่องเที่ยวและการบริการ สาขาศิลปศาสตร์    คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ ข้อที่ตรงกับของสาขาวิชา   ด้านความรู้ / 1.  มีความรู้ในสาขาวิชาการท่องเที่ยวและการโรงแรม ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างกว้างขวาง เป็นระบบ เป็นสากล และทันสมัยต่อสถานการณ์โลก 2.2.1.1   2.  มีความรู้เกิดจากการบูรณาการความรู้ในศาสตร์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง 2.2.1.2   3.  มีความรู้ในกระบวนการ และเทคนิคการวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้ในงานอาชีพ 2.2.1.3
วิธีการสอน
รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ   1. กำหนดให้มีวิชาจรรยาบรรณโดยเฉพาะและทำรายงาน 2.1.2.1 √ 2.  สอนคุณธรรม จริยธรรมสอดแทรกในบทเรียนวิชาเฉพาะ 2.1.2.2 √ 3.  สอนโดยใช้กรณีศึกษาและอภิปรายร่วมกัน 2.1.2.3 √ 4.  สอนโดยการอ้างอิงประมวลกฎหมาย (Ethic Coad) ที่เกี่ยวข้องกับจรรยาบรรณ 2.1.2.4   5.  การบรรยายพิเศษโดยผู้มีประสบการณ์หรือพระในศาสนาต่างๆ 2.1.2.5 √ 6.  การแสดงออกอันเป็นแบบอย่างที่ดีของผู้สอน 2.1.2.6
รายละเอียด วิธีการประเมินผล
ข้อ √ 1.  ทดสอบทฤษฎีและปฏิบัติ โดยการสอบย่อย และให้คะแนน 2.2.3.1 √ 2.  ทดสอบโดยการสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค 2.2.3.2 √ 3.  ประเมินจากการทำงานที่ได้รับมอบหมายและรายงาน 2.2.3.3 √ 4.  ประเมินจากรายงานที่ให้ค้นคว้า 2.2.3.4
มาตรฐานผลการเรียนรู้ของ สาขาวิชาการท่องเที่ยวและการบริการสาขาศิลปศาสตร์    คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ ข้อที่ตรงกับของสาขาวิชา   ด้านความรู้ / 1.  มีความรู้ในสาขาวิชาการท่องเที่ยวและการโรงแรม ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างกว้างขวาง เป็นระบบ เป็นสากล และทันสมัยต่อสถานการณ์โลก 2.2.1.1   2.  มีความรู้เกิดจากการบูรณาการความรู้ในศาสตร์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง 2.2.1.2   3.  มีความรู้ในกระบวนการ และเทคนิคการวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้ในงานอาชีพ 2.2.1.3
รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ √ 1.  การบรรยายภายในชั้นเรียน และการถาม-ตอบ 2.2.2.1 √ 2.  มอบหัวข้อเรื่องให้ค้นคว้าและทำรายงานทั้งเดี่ยวและกลุ่ม 2.2.2.2   3.  ทำรายงานเปรียบเทียบความรู้จากห้องเรียนกับการทำงานจริง ภาคปฏิบัติ 2.2.2.3 √ 4.  อภิปรายเป็นกลุ่ม โดยให้ผู้สอนตั้งคำถามตามระบบการสอนยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง 2.2.2.4 √ 5.  การศึกษานอกสถานที่และทำรายงาน 2.2.2.5   6.  ฝึกปฏิบัติกับสถานประกอบการ 2.2.2.6   7.  ฝึกปฏิบัตินอกสถานที่โดยร่วมมือกับมืออาชีพ (Professional) ในวิชานั้นๆ 2.2.2.7
รายละเอียด วิธีการประเมินผล ข้อ √ 1.  ทดสอบทฤษฎีและปฏิบัติ โดยการสอบย่อย และให้คะแนน 2.2.3.1 √ 2.  ทดสอบโดยการสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค 2.2.3.2 √ 3.  ประเมินจากการทำงานที่ได้รับมอบหมายและรายงาน 2.2.3.3 √ 4.  ประเมินจากรายงานที่ให้ค้นคว้า 2.2.3.4
มาตรฐานผลการเรียนรู้ของ สาขาวิชาการท่องเที่ยวและการบริการสาขาศิลปศาสตร์    คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ ข้อที่ตรงกับของสาขาวิชา ทักษะทางปัญญา   1.  มีความสามารถประมวลและศึกษาข้อมูลเพื่อวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาและความขัดแย้ง รวมทั้งหาแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม ทั้งเชิงกว้างและเชิงลึก 2.3.3.1 / 2.  มีความสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ ไปใช้ประโยชน์ในการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม และการปฏิบัติงานจริงตามสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม 2.3.3.2   3.  มีความสามารถประยุกต์ใช้นวัตกรรมจากภาคธุรกิจ และจากศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนาทักษะการทำงานให้เกิดประสิทธิผล 2.3.3.3
รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ   1.  ฝึกปฏิบัติและจัดทำโครงการเกี่ยวกับธุรกิจนำเที่ยว ธุรกิจโรงแรม ตลอดจนงานวิจัย 2.3.2.1 √ 2.  การอภิปรายเป็นกลุ่ม 2.3.2.2 √ 3.  การทำงานที่ได้รับมอบหมายให้ค้นคว้าหรืองานเกี่ยวกับการพัฒนา 2.3.2.3 √ 4.  การบรรยายโดยผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ประกอบการในสายอาชีพ 2.3.2.4   5.  กำหนดให้มีรายวิชาที่ต้องใช้ทักษะการคำนวณ เช่น การจัดการการบริการการควบคุมต้นทุนอาหารและเครื่องดื่ม 2.3.2.5
รายละเอียด วิธีการประเมินผล ข้อ √ 1.  ประเมินผลจากผลงานที่มอบหมายให้ทำ 2.3.3.1 √ 2.  การสอบข้อเขียน 2.3.3.2   3.  การเขียนรายงาน 2.3.3.3
มาตรฐานผลการเรียนรู้ของ สาขาวิชาการท่องเที่ยวและการบริการสาขาศิลปศาสตร์    คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ ข้อที่ตรงกับของสาขาวิชา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ / 1.  มีสามารถในการปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือผู้ร่วมงานและแก้ไขปัญหาได้ดี 2.4.1.1   2.  มีความสามารถพัฒนาตนเอง และพัฒนาวิชาชีพให้ทันสมัยอย่างต่อเนื่อง และตรงตามมาตรฐานสากล 2.4.1.2   3. มีความสามารถทำงานร่วมกับผู้ร่วมวิชาชีพทุกระดับในสภาพสังคมการทำงานที่หลากหลายได้อย่างเหมาะสม 2.4.1.3
รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ   1.  บรรจุเนื้อหาความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในรายวิชาชีพ 2.4.2.1 √ 2.  มอบหมายงานเป็นกลุ่มย่อย และแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ โดยหมุนเวียนกันในกลุ่ม 2.4.2.2 √ 3.  สอนโดยใช้กรณีศึกษา 2.4.2.3
รายละเอียด วิธีการประเมินผล ข้อ √ 1.  ประเมินจากผลงานของกลุ่มและผลงานของผู้เรียนในกลุ่มที่ได้รับมอบหมายให้ทำงาน 2.4.3.1   ประเมินตนเอง และประเมินซึ่งกันและกัน 2.4.3.2   ใช้ประวัติสะสมงาน (Portfolio) ในการประเมิน 2.4.3.3 √ สังเกตพฤติกรรมในการเรียน 2.4.3.4   ใช้ผลการประเมินจากการฝึกงานและการสหกิจศึกษา 2.4.3.5
มาตรฐานผลการเรียนรู้ของ สาขาวิชาการท่องเที่ยวและการบริการ                           สาขาศิลปศาสตร์    คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ ข้อที่ตรงกับของสาขาวิชา ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ / 1.  มีความสามารถในการใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน และสรุปประเด็นได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.5.1.1   2.  มีความสามารถสื่อสารกับชาวต่างชาติได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์และวัฒนธรรม 2.5.1.2   3.  สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร รู้จักเลือกรูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่อง และผู้ฟังที่แตกต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.5.1.3
รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ √ 1.  ทดสอบระดับความสามารถทางภาษาในการติดต่อกับคนไทยและต่างชาติโดยการสอบปฏิบัติและสอบวัดความรู้ภาษาอังกฤษ 2.5.2.1   2.  ทดลองให้ใช้อุปกรณ์ในห้องปฏิบัติการทางการท่องเที่ยวและโรงแรม หรือสายการบิน 2.5.2.2 √ 3.  นำเสนอผลงานที่ค้นคว้าและอภิปรายด้วยตนเองหรือแบบกลุ่มในห้องเรียน 2.5.2.3 √ 4.  บูรณาการการโปรแกรมทางคอมพิวเตอร์ เครือข่าย และซอฟต์แวร์หรือสิ่งต่างๆ 2.5.2.4   5.  ทดสอบกระบวนการแก้ปัญหาหรือกรณีศึกษาที่จำเป็นต้องใช้แบบจำลองคณิตศาสตร์หรือสถิติในรายวิชาที่เกี่ยวข้อง 2.5.2.5
รายละเอียด วิธีการประเมินผล ข้อ √ 1.  ประเมินผลโดยการสอบข้อเขียนและสอบปฏิบัติ 2.5.2.1 √ 2.  ประเมินผลจากการนำเสนอผลงาน 2.5.2.2 √ 3.  ประเมินผลจากการใช้คอมพิวเตอร์ 2.5.2.3   4.  ประเมินผลจากการสรุปหัวข้อที่มอบหมายให้ค้นคว้า 2.5.2.4
มาตรฐานผลการเรียนรู้ของ สาขาวิชาการท่องเที่ยวและการบริการสาขาศิลปศาสตร์    คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ ข้อที่ตรงกับของสาขาวิชา ทักษะด้านการปฏิบัติงานได้อย่างมืออาชีพ / 1.  มีทักษะและสามารถปฏิบัติงานขั้นพื้นฐานของบุคลากรวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการ 2.6.1.1   2.  มีทักษะและสามารถปฏิบัติงานตามตำแหน่งงานของบุคลากรวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการ 2.6.1.2   3.  มีทักษะและสามารถปฏิบัติงานตามสมรรถนะวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการที่มีมาตรฐานและเป็นสากล 2.6.1.3
รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ √ 1.  ทดสอบทักษะทางวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการโดยการสอบปฏิบัติ 2.6.2.1   2.  จัดสอบตามสมรรถนะวิชาชีพทั้งภายในและศูนย์ทดสอบภายนอก 2.6.2.2 √ 3.  ทดสอบทางด้านภาษาต่างประเทศเพื่อการทำงานที่มีมาตรฐานสากล 2.6.2.3
รายละเอียด วิธีการประเมินผล ข้อ √ 1.  ประเมินผลจากความถูกต้องตามมาตรฐาน 2.6.2.1 √ 2.  ประเมินผลจากการสอบข้อเขียนและสอบปฏิบัติ 2.6.2.2 √ 3.  ประเมินผลจากผลสอบภาษาต่างประเทศที่มีมาตรฐาน 2.6.2.3
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.2.2.1, 2.3.2.2, 2.5.1.1 - สอบกลางภาค - สอบปลายภาค 9,17 60
2 2.4.1.1, 2.6.1.1, 2.3.2.2, 2.2.2.1 - การให้ความร่วมมือในการทำงานที่ได้รับมอบหมายร่วมกับผู้อื่น - ความพยายามในการพัฒนาความรู้และทักษะ - การนำเสนองานที่ได้รบมอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 30
3 2.4.1.1, 2.1.1.2 มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย มีวินัยในการทำงาน การตรงต่อเวลา ตลอดภาคการศึกษา 10
1.เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการท่องเที่ยวและการโรงแรม 2. เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทางการท่องเที่ยว
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้ 1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านแบบสอบถาม ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้ 2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน 2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ 
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้ 3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร 4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้ 5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ