วิศวกรรมการบำรุงรักษา

Maintenance Engineering

1.1 เข้าใจในการบารุงรักษาเครื่องจักรกล 1.2 เข้าใจในสาเหตุของการเสื่อมสภาพ 1.3 เข้าใจขั้นตอนและวิธีการตรวจสภาพเครื่องจักร ตลอดจนการวางแผนตรวจสภาพ เครื่องจักร 1.4 พิจารณาเลือกวิธีการตรวจซ่อมเครื่องจักรที่ปลอดภัย 1.5 พิจารณาแก้ไขปัญหาการซ่อมเครื่องจักรและการประเมินผล
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สาคัญในเนื้อหาที่ศึกษาทางวิศวกรรมการบารุงรักษา สามารถนาความรู้ที่ได้ไปแก้ปัญหาและประยุกต์กับวิชาชีพและเทคโนโลยีใหม่ๆ
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการบารุงรักษาแบบทวีผล สาเหตุของการเสื่อมสภาพเครื่องจักร และอุปกรณ์ การตรวจสอบเครื่องจักรกล การประยุกต์ใช้หลักสถิติในการวิเคราะห์สาเหตุความเสียหายของเครื่องจักร วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือของเครื่องจักร เป็นต้น การหล่อลื่น การบารุงรักษาเชิงป้องกัน หลักการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการตรวจสอบและเฝ้าระวัง การวางแผนและการควบคุมในงานบารุงรักษา การบริหารจัดการเพื่อยืดอายุการใช้งานของเครื่องจักร การออกแบบและจัดทารายงานการบารุงรักษา ดัชนีการวัดสมรรถนะในงานบารุงรักษา ความปลอดภัยในการซ่อมบารุงเครื่องจักรและอุปกรณ์ การจัดองค์กรและการบริหารทรัพยากรในงานด้านการซ่อมบารุง การประยุกต์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์จัดการระบบบารุงรักษา ตลอดจนการพัฒนาระบบการบารุงรักษา
- อาจารย์ประจารายวิชา ประกาศเวลาและการติดต่อผ่านเวปไซด์ของสาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ - อาจารย์จัดเวลาให้คาปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการอย่างน้อย 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1 คุณธรรม จริยธรรม ที่ต้องพัฒนา นักศึกษาต้องมีคุณธรรม จริยธรรมเพื่อให้สามารถดาเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างราบรื่น และเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม นอกจากนั้นวิศวกรอุตสาหการจาเป็นต้องมีความรับผิดชอบต่อผลที่เกิดขึ้นเช่นเดียวกับการประกอบอาชีพในสาขาอื่น ๆ อาจารย์ที่สอนในแต่ละวิชาต้องพยายามสอดแทรกเรื่องที่ เกี่ยวกับสิ่งต่อไปนี้ทั้ง 5 ข้อ เพื่อให้นักศึกษาสามารถพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมไปพร้อมกับวิทยาการต่าง ๆ ที่ศึกษา รวมทั้งอาจารย์ต้องมีคุณสมบัติด้านคุณธรรม จริยธรรมอย่างน้อย 5 ข้อตามที่ระบุไว้ 2.1.1.1 เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต 2.1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม 2.1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นาและผู้ตาม สามารถทางานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลาดับความสาคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่า และศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 2.1.1.4 สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กร สังคมและสิ่งแวดล้อม 2.1.1.5 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพและมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพรวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
1.2.1 บรรยายเนื้อหาความสาคัญของรายวิชาพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษาให้นักศึกษาทราบเกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้วิชาชีพในองค์กรและสังคม
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา 1.3.2 มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นามาทารายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม 1.3.3 ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา 1.3.4 ประเมินผลการนาเสนอรายงานที่มอบหมาย
2.1 ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ 2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐานและเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี 2.1.2 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สาคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและ ปฏิบัติ ในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรมอุตสาหการ 2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 2.1.4 สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการ ประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม 2.1.5 สามารถใช้ความรู้ และทักษะในสาขาวิชาของตนในการประยุกต์แก้ไข ปัญหาในงานจริงได้
2.2.1 บรรยายและมอบหมายงานให้นักศึกษา 2.2.2 ให้นักศึกษาออกแบบชิ้นส่วนเครื่องจักรกล 2.2.3 ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยในการวิเคราะห์ผลลัพธ์
ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการปฏิบัติของนักศึกษา ในด้านต่าง ๆ คือ 2.3.1 การทดสอบย่อย 2.3.2 การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน 2.3.3 ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทา
3.1.1 มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี 3.1.2 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ 3.1.3 สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบรวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.1.4 มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม ในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์ 3.1.5 สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ ตลอดชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ
3.2.1 บรรยายถามตอบ แสดงตัวอย่างในการออกแบบ วิเคราะห์ คานวณ และการกาหนดวัสดุ 3.2.2 ให้ทางานกลุ่มในหัวข้อตามที่นักศึกษาต้องการ 3.2.3 ให้นักศึกษาปฏิบัติการออกแบบชิ้นส่วนเครื่องจักรกลที่ใช้ในงานซ่อมำรุง
3.3.1 การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน 3.3.2 ประเมินผลจางานที่มอบหมาย
4.1.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาชีพมาสื่อสารต่อสังคมได้ในประเด็นเหมาะสม 4.1.2 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัว และส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม รวมทั้งให้ ความช่วยเหลือและอานวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่างๆ 4.1.3 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และสอดคล้อง กับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง 4.1.4 รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทางานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคล และงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทางานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นาและผู้ตามได้อย่างมี ประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ 4.1.5 มีจิตสานึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทางาน และการรักษา สภาพแวดล้อมต่อสังคม
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษาและตัวอย่างงาน 4.2.1 มีการให้งานทาเป็นกลุ่ม 4.2.2 นักศึกษาที่เรียนรู้ได้เร็ว ช่วยอธิบายเทคนิค ช่วยเหลือให้เพื่อน 4.2.3 การส่งงานที่ได้รับมอบหมายทันในเวลาที่กาหนด
4.3.1 การสังเกต 4.3.2 ความสาเร็จของงานที่ได้รับมอบหมาย
5.1.1มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สาหรับการทางานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี 5.1.2มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์ หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์ 5.1.3สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ 5.1.4มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์ 5.1.5สามารถใช้เครื่องมือการคานวณและเครื่องมือวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้
5.2.1 ฝึกให้นักศึกษาใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยในการเขียนแบบและวิเคราะห์เชิงตัวเลข (CAD/CAE) 5.2.2 นักศึกษาสามารถส่งงานและนาเสนองานโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.3.1 ประเมินจากผลงานของนักศึกษา
6.1.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการ ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 6.1.2 มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความ ร่วมมือกันเป็นอย่างดี
6.2.1 มอบหมายงานให้นักศึกษาและกาหนดระยะเวลาในการส่งงาน 6.2.2 การใช้เครื่องมืออุปกรณ์อย่างถูกวิธีและการบารุงรักษา
6.3.1 นักศึกษาส่งงานตามระยะเวลาที่กาหนด 6.3.2 มีการกาหนดคะแนนในการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลและ ความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะ พิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 5 1 2 3 2 3 4 2 4 1 2 3 1
1 34062303 วิศวกรรมการบำรุงรักษา
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1- 2.5 3.2 – 3.3 สอบกลางภาค สอบปลายภาค สัปดาห์ที่ 8 สัปดาห์ที่ 17 30 % 30 %
2 1.1, 2.1 2.4 - 2.6 3.2 – 3.3 4.1 – 4.4, 5.1 – 5.5 6.1 – 6.2 การนาเสนอผลงาน การทางานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 30 %
3 1.2, 2.5, 3.1 การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
1. ผศ.ดร.สุรพล ราษฎร์นุ้ย วิศวกรรมการบารุงรักษา ซีเอ็ดยูเคชั้น จากัด ,กรุงเทพฯ 2545 2. โกศล ดีศีลธรรม ; การจัดการบารุงรักษาสาหรับงานอุตสาหกรรม :เอ็มแอนอี ,กรุงเทพฯ 2547
1. หนังสือ ตำรำ และเอกสำรประกอบกำรสอนหลัก - Lindley R. Higgins, Maintenance Engineering Hand Book, Fifth Edition, Mc Graw Hill , ISBN : 0-07-028811-9 , U.S.A., 1995 - ฟุคุนำงะ อิจิโระ , เทคนิคกำรบำรุงรักษำเครื่องจักรกลโรงงำน, สมำคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น), ISBN : 974-7873-17-6, 2541 - กรมสวัสดิกำรคุ้มครองแรงงำน, คู่มือกำรอบรมเจ้ำหน้ำที่ควำมปลอดภัยในกำรทำงำนระดับพื้นฐำนทั่วไป, ISBN : 974-7873-17-6, 2541 - ไทยรัฐ กุศลธรรมรัตน์, กำรบำรุงรักษำด้วยตนเอง สำหรับพนักงำนระดับปฏิบัติงำน, สมำคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) ISBN : 974-8324-47-8, ดวงกลมสมัย, 2540
- ธานี อ่วมอ้อ , การบารุงรักษาทวีผลแบบทุกคนมีส่วนร่วม, สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ., ซีเอ็ดยูเคชั่น , ISBN : 974-91709-4-6, 2546 - ไทยรัฐ กุศลธรรมรัตน์, การบารุงรักษาด้วยตนเอง สาหรับพนักงานระดับปฏิบัติงาน, สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น), ISBN : 974-8326-67-5, ดวงกลมสมัย, 2543