การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยงานผลิต

Computer-Aided Manufacturing Application

ศึกษาและฝึกปฏิบัติการเกี่ยวกับโครงสร้างและหลักการทำงานของเครื่องซีเอ็นซี ระบบแนวแกน ระบบศูนย์งาน ศูนย์เครื่อง ศูนย์โปรแกรม เครื่องมือและอุปกรณ์ในเครื่องมือกลซีเอ็นซี โครงสร้างโปรแกรม G-Code และ M-Code การเขียนโปรแกรม การทดสอบโปรแกรม ในงานกลึงและงานกัด การตรวจสอบโปรแกรมด้วยโปรแกรม Simulation หรือด้วยเครื่อง CNC การปรับแต่งตั้งศูนย์มีด การปรับแต่งตั้งศูนย์งาน การปรับแก้โปรแกรมและการปรับขนาดงาน การใช้โปรแกรมCAD-CAM 2 มิติและ 3 มิติ สร้าง Solid Modeling ด้วยคำสั่งพื้นฐาน การแก้ไข การทำ Drawing การทำภาพประกอบ(Assembly) ทำรายการวัสดุ (Bill of Material) ทำภาพฉาย ภาพช่วย ภาพรายละเอียดเฉพาะตำแหน่ง การพิมพ์ภาพ ทำโปรแกรม CNC งานกัด 2-3 มิติ และงานกลึง
เพื่อให้รายวิชานี้เป็นรายวิชา ที่นักศึกษาได้ศึกษาแล้ว มีความรู้ และฝึกปฏิบัติผลิตชิ้นงานโดยการเขียนแบบด้วย โปรแกรม CAD-CAM สร้าง Tool Path และ Post Processor ให้เป็น CNC Program จากนั้นนำโปรแกรมไปเข้าเครื่องจักรกลอัตโนมัติ หรือ เครื่องซีเอ็นซี เพื่อทำการผลิตชิ้นงานได้
ศึกษาและฝึกปฏิบัติการเกี่ยวกับโครงสร้างและหลักการทำงานของเครื่องซีเอ็นซี ระบบแนวแกน ระบบศูนย์งาน ศูนย์เครื่อง ศูนย์โปรแกรม เครื่องมือและอุปกรณ์ในเครื่องมือกลซีเอ็นซี โครงสร้างโปรแกรม G-Code และ M-Code การเขียนโปรแกรม การทดสอบโปรแกรม ในงานกลึงและงานกัด การตรวจสอบโปรแกรมด้วยโปรแกรม Simulation หรือด้วยเครื่อง CNC การปรับแต่งตั้งศูนย์มีด การปรับแต่งตั้งศูนย์งาน การปรับแก้โปรแกรมและการปรับขนาดงาน การใช้โปรแกรมCAD-CAM 2 มิติและ 3 มิติ สร้าง Solid Modeling ด้วยคำสั่งพื้นฐาน การแก้ไข การทำ Drawing การทำภาพประกอบ(Assembly) ทำรายการวัสดุ (Bill of Material) ทำภาพฉาย ภาพช่วย ภาพรายละเอียดเฉพาะตำแหน่ง การพิมพ์ภาพ ทำโปรแกรม CNC งานกัด 2-3 มิติ และงานกลึง รวมถึงการประยุกต์ใช้การเขียนโปรแกรมเพื่อควบคุมเครื่องตัดโลหะด้วยไฟฟ้า และเครื่องกัดโลหะด้วยไฟฟ้า
การศึกษาด้วยตนเอง
5 ชั่วโมง ต่อสัปดาห์
1.1.1 เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่า และศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.1.4 สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบ จากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กรสังคมและสิ่งแวดล้อม
1.1.5 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพรวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
บรรยายเนื้อหาความสำคัญของรายวิชาพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษาให้นักศึกษา

ทราบเกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้วิชาชีพในองค์กรและสังคม
1.3.1 ประเมินจากพฤติกรรมของนักศึกษา
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐานและเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี
2.1.2 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ ในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.1.4 สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม เช่น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นต้น
2.1.5 สามารถใช้ความรู้ และทักษะในสาขาวิชาของตนในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้
2.2.1 มอบหมายงานให้นักศึกษาทำตามเงื่อนไขของรายวิชา
2.3.1 ดูจากผลงานของนักศึกษา
              3.1.1 มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี
        3.1.2 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
        3.1.3 สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบรวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
        3.1.4 มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม ในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์
         3.1.5 สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตและทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ
3.1.1 มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี
3.1.2 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
3.1.3 สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบรวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.1.4 มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม ในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์
3.1.5 สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตและทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ
3.3.1 ดูจากงานที่นักศึกษาส่งและการวัดผลโดยการสอบกลางภาคและปลายภาค
4.1.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาชีพมาสื่อสารต่อสังคมได้ในประเด็นที่เหมาะสม
4.1.2 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัว และส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม รวมทั้งให้ความช่วยเหลือ และอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่างๆ
4.1.3 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
4.1.4 รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพสามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
4.1.5 มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม
4.2.1 มีการให้งานทำในลักษณะกลุ่ม
4.2.2 นักศึกษาที่เรียนรู้ได้เร็ว ช่วยอธิบายเทคนิค ช่วยเหลือให้เพื่อน
4.2.3 การส่งงานที่ได้รับมอบหมายทันในเวลาที่กำหนด
4.3.1 การสังเกต
4.3.2 ความสำเร็จของงานที่ได้รับมอบหมาย
5.1.1 มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี
5.1.2 มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์
5.1.3 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
5.1.4 มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์
5.1.5 สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้
5.2.1 ฝึกให้นักศึกษา ศึกษาและฝึกปฏิบัติการเกี่ยวกับโครงสร้างและหลักการทำงานของเครื่องซีเอ็นซี ระบบแนวแกน ระบบศูนย์งาน ศูนย์เครื่อง ศูนย์โปรแกรม เครื่องมือและอุปกรณ์ในเครื่องมือกลซีเอ็นซี โครงสร้างโปรแกรม G-Code และ M-Code การเขียนโปรแกรม การทดสอบโปรแกรม ในงานกลึงและงานกัด การตรวจสอบโปรแกรมด้วยโปรแกรม Simulation หรือด้วยเครื่อง CNC การปรับแต่งตั้งศูนย์มีด การปรับแต่งตั้งศูนย์งาน การปรับแก้โปรแกรมและการปรับขนาดงาน การใช้โปรแกรมCAD-CAM 2 มิติและ 3 มิติ สร้าง Solid Modeling ด้วยคำสั่งพื้นฐาน การแก้ไข การทำ Drawing การทำภาพประกอบ(Assembly) ทำรายการวัสดุ (Bill of Material) ทำภาพฉาย ภาพช่วย ภาพรายละเอียดเฉพาะตำแหน่ง การพิมพ์ภาพ ทำโปรแกรม CNC งานกัด 2-3 มิติ และงานกลึง
5.2.2 นักศึกษาสามารถส่งงานและนำเสนองานโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.3.1 ดูจากผลงานของนักศึกษา
6.1.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
6.1.2 มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
6.2.1 การวางแผนการผลิต ให้เหมาะสมกับงานที่ได้รับมอบหมาย
ุ6.2.1 ทำงานร่วมกันเป็นทีม
6.3.1 ดูจากผลงานของนักศึกษา
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ 5. 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1. 2. 3. 4. 5. 1. 2. 3. 4. 5. 1. 2. 3. 4. 5. 1. 2. 3. 4. 5. 1. 2.
1 ENGME141 การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยงานผลิต
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1 - 2.5 3.3 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 8 17 สอบกลางภาค 25% สอบปลายภาค 25%
2 4.4 5.1,5.5 6.1 , 6.2 ศึกษาและฝึกปฏิบัติการเกี่ยวกับโครงสร้างและหลักการทำงานของเครื่องซีเอ็นซี ระบบแนวแกน ระบบศูนย์งาน ศูนย์เครื่อง ศูนย์โปรแกรม เครื่องมือและอุปกรณ์ในเครื่องมือกลซีเอ็นซี โครงสร้างโปรแกรม G-Code และ M-Code การเขียนโปรแกรม การทดสอบโปรแกรม ในงานกลึงและงานกัด การตรวจสอบโปรแกรมด้วยโปรแกรม Simulation หรือด้วยเครื่อง CNC การปรับแต่งตั้งศูนย์มีด การปรับแต่งตั้งศูนย์งาน การปรับแก้โปรแกรมและการปรับขนาดงาน การใช้โปรแกรมCAD-CAM 2 มิติและ 3 มิติ สร้าง Solid Modeling ด้วยคำสั่งพื้นฐาน การแก้ไข การทำ Drawing การทำภาพประกอบ(Assembly) ทำรายการวัสดุ (Bill of Material) ทำภาพฉาย ภาพช่วย ภาพรายละเอียดเฉพาะตำแหน่ง การพิมพ์ภาพ ทำโปรแกรม CNC งานกัด 2-3 มิติ และงานกลึง ตลอดการศึกษา 40%
3 1.2– 1.7, 3.1 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
อำนาจ ทองแสน, เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ช่วยการออกแบบและการผลิต.สำนักพิมพ์ส่งเสริมเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น.กรุงเทพมหานคร.2548
รศ.บรรเลง ศรนิล, ตารางคู่มืองานโลหะ
Tien-Chien Chang, Richard A. Wysk, Hsu-Pin Wang, Computer Aided Manufacturing. Prentice-Hall. Inc. New Jercy. 1991
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษา

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การปรับปรุงการสอนที่สอดคล้องกับเทคโนโลยี
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชา
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 การประยุกต์ความรู้ กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ