การคิดและการตัดสินใจเชิงวิทยาศาสตร์

Thinking and Making Decision Scientifically

1. เข้าใจกระบวนการคิดและการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์
2. สามารถวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารอย่างมีเหตุผล
3. เข้าใจกระบวนการตัดสินใจโดยใช้ตรรกศาสตร์และการประยุกต์ใช้หลักการคิดทางวิทยาศาสตร์ เพื่อแก้ปัญูหาในชีวิตในประจำวัน
4. มีเจตคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์
 
 
 
 
 
มีการปรับปรุงเนื้อหาเพิ่มเติมเกี่ยวกับลายละเอียดเนื้อหาของวิชาที่ให้นักศึกษาจำเป็นต้องเรียนรู้ เพื่อใช้เป็นองค์ความรู้พื้นฐานสำหรับรายวิชาที่มีความใกล้เคียงกับรายวิชานี้และนำความรู้ที่ได้เรียนไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
กระบวนการคิด การแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ การวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารและการให้เหตุผล
กระบวนการตัดสินใจโดยใช้ตรรกศาสตร์ การประยุกต์ใช้หลักการคิดทางวิทยาศาสตร์ เพื่อแก้ปัญหาใน
ชีวิตประจำวัน
2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
(1) มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม และจริยธรรม
(2) มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
(3) มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
(4) เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
(1) แนะนำในห้องเรียน
(2) อธิบาย ความหมาย ข้อดี ข้อเสีย แบ่งกลุ่มระดมความคิด
(3) แนะนำและยกตัวอย่างบอกระเบียบการเข้าชั้นเรียน
(4) แนะนำในห้องเรียนมีสัมมาคารวะให้ความเคารพแก่ผู้อาวุโส
(1) สังเกตพฤติกรรมนักศึกษา
(2) สอบข้อเขียน นำเสนอในชั้นเรียน
(3) ผลการเข้าชั้นเรียน การส่งงานที่มอบหมายตามเวลาและการทำงานร่วมกับผู้อื่น
(4) สังเกตพฤติกรรมนักศึกษา
(1) มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
(2) สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
(3) สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
(1) สอน อธิบาย ยกตัวอย่าง ตามวิชาการใช้การสอนแบบสื่อสารสองทาง เปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคำถามหรือตอบคำถาม หรือแสดงความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับวิชาการ ในชั้นเรียนในโอกาสต่างๆ
(2) กำหนดหัวข้อทางวิชาการให้กับนักศึกษาในการค้นคว้านอกเวลาเรียน
(3) อธิบายความเชื่อมโยงของความรู้ในวิชาที่ศึกษากับศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง โดยระดมความคิดของนักศึกษาในชั้นเรียน แบ่งกลุ่มค้นคว้าข้อมูลและรายงาน
(1) สอบย่อย สอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค
(2) งานที่มอบหมาย รายงาน และผลงานที่นำเสนอ
(3) สอบข้อเขียน ข้อเสนอความคิดของนักศึกษาและนำเสนอในชั้นเรียน และงานที่มอบหมาย และนำเสนอเป็นกลุ่ม
(1) มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
(2) มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
(1) ฝึกทักษะ ตามหัวข้อทางวิชาการให้นักศึกษาได้ปฏิบัติ
(2) การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัด และนำเสนอ
(1) ทดสอบย่อย และวิเคราะห์แนวคิดทางวิชาการ
(2) ประเมินระบบการทำแบบฝึกหัดและการนำเสนอ
(1) มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
(2) มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(3) สามารถทำงานเป็นทีมและสามรถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
(4) สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
(1) แนะนำในห้องเรียน
(2) มอบหมายงานรายกลุ่ม และรายบุคคล กำหนดความรับผิดชอบของนักศึกษาแต่ละคนในการทำงานกลุ่ม อย่างชัดเจน
(3) มอบหมายงานกลุ่มและมีการเปลี่ยนกลุ่มทำงานตามกิจกรรมที่มอบหมาย เพื่อให้นักศึกษาทำงานได้กับผู้อื่น โดยไม่ยึดติดกับเฉพาะเพื่อนที่ใกล้ชิด
(4) อธิบายความเชื่อมโยงของความรู้ในวิชาที่ศึกษากับศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
(1) สังเกตพฤติกรรมนักศึกษา
(2) ให้นักศึกษาประเมินสมาชิกในกลุ่ม ทั้งด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและด้านความรับผิดชอบ
(3) ประเมินความรับผิดชอบจากรายงานกลุ่มของนักศึกษา
(4) สอบข้อเขียน
(1) สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
(2) สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
(3) สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(1) แนะนำในห้องเรียน
(2) แนะนำให้นักศึกษาและวิธีการใช้เทคโนโลยีในการสืบค้นข้อมูลพอสังเขป
(3) สอนให้นักศึกษาได้ใช้คำภาษาไทยและภาษาต่างประเทศได้อย่างถูกต้องตามหลักไวยากรณ์
(1) สังเกตพฤติกรรมจากการใช้เครื่องมือสื่อสาร
(2) จากการมอบหมายงานและให้ส่งงาน
(3) สังเกตจากการตอบหรือการส่งงานที่ต้องใช้การเขียนตอบ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 4 1 2 3 1 2 3
1 22000004 การคิดและการตัดสินใจเชิงวิทยาศาสตร์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.3, 3.3, 5.3 การนำเสนอหัวข้อและการสอบย่อย 2, 3, 6, 11, 12, 16 10%
2 2.3, 3.3, 5.3 การสอบกลางภาค 9 30%
3 2.3, 3.3, 5.3 การสอบปลายภาค 17 30%
4 2.3, 3.3, 4.3, 5.3 งานที่มอบหมาย ตลอดภาคเรียน 20%
5 1.3, 4.3 คะแนนเจตคติ การเข้าชั้นเรียน ความรับผิดชอบในรายวิชา ตลอดภาคเรียน 10%
1. ศรีสุรางค์ ทีนะกุล สมจิต รัตนอุดมโชติ ทรงศักดิ์ นิธิปรีชา สมศักดิ์ เทศสวัสดิ์ และเวชชัย สังข์สาย.(2542). การคิดและการตัดสินใจ. กรุงเทพมหานคร : บริษัทเธิว์ดเวฟ เอ็ดดูเคชั่น จำกัด.
2. เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2545). การคิดเชิงสร้างสรรค์. กรุงเทพมหานคร : ซัคเซสมีเดีย.
3. ทิพย์วัลย์ สีจันทร์. (2546). ­ความคิดสร้างสรรค์ การตัดสินใจ ­ความคิดและการคิด. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์สถาบันราชภัฏสวนดุสิต.
1. ศรีสุรางค์ ทีนะกุล สมจิต รัตนอุดมโชติ ทรงศักดิ์ นิธิปรีชา สมศักดิ์ เทศสวัสดิ์ และเวชชัย สังข์สาย.(2542). การคิดและการตัดสินใจ. กรุงเทพมหานคร : บริษัทเธิว์ดเวฟ เอ็ดดูเคชั่น จำกัด.
1. ศรีสุรางค์ ทีนะกุล สมจิต รัตนอุดมโชติ ทรงศักดิ์ นิธิปรีชา สมศักดิ์ เทศสวัสดิ์ และเวชชัย สังข์สาย.(2542). การคิดและการตัดสินใจ. กรุงเทพมหานคร : บริษัทเธิว์ดเวฟ เอ็ดดูเคชั่น จำกัด.
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย
การประเมินการสอน โดยคณะกรรมการประเมินการสอนที่แต่งตั้งโดยแผนกวิชา จากการสังเกตขณะสอน และการสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา 
แผนกวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา มีการประชุมอาจารย์ในแผนกวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
แผนกวิชามีคณะกรรมการประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา โดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนน ของรายวิชา 60% ของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบของแผนกวิชา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
แผนกวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดนพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของแผนกวิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้าแผนกวิชา เพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป