การออกแบบระบบดิจิทัล

Digital Systems Design

1.  เข้าใจระบบตัวเลขและรหัสต่างๆ
2.  เข้าใจการลดทอนฟังก์ชันลอจิกและวิเคราะห์วงจรดิจิตอลแบบต่างๆ
3.  เข้าใจหน่วยประมวลผลด้านคณิตศาสตร์
4.  ประยุกต์ใช้วงจรดิจิตอลในงานอุตสาหกรรม
5.  เห็นความสำคัญของระบบงานดิจิตอล
ศึกษาเกี่ยวกับทฤษฎีสวิทชิ่ง  ทฤษฎีสวิทชิ่ง  คณิตศาสตร์บูลีน  ฟังก์ชั่นลอจิก  ลอจิกเกท ตรรกะ วงจรคอมไบเนชั่น วงจรซีเควลเซียล วงจรคณิตศาสตร์และตรรกะ  ระบบคอมพิวเตอร์พื้นฐาน
3
1. คุณธรรม จริยธรรม คุณธรรม จริยธรรม ทีWต้องพัฒนา พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของ ข้อมูลส่วนบุคคล การไม่เปgดเผยข้อมูล การไม่ละเมิดลิขสิทธิaทางซอฟแวร์ และไม่ ละเมิดลิขสิทธิaทางปUญญา มีความซืWอสัตย์ในดูแล จัดการเครือข่ายอย่างมีคุณภาพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนีY ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซืWอสัตย์สุจริต มีวินัย ตรง ต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสงคม มีภาวะความเปdนผู้นําและผู้ตาม สามารถทํางานเปdนทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลําดับความสําคัญ เคารพสิทธิ และรับฟงU ความคิดเห็นผู้อืWน รวมทัYงเคารพในคุณค่าและศักดิaศรีของความเปdน มนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม สามารถ วิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้เครือข่ายต่อบุคคลองค์กรและสังคม มีจรรยาบรรณ ทางวิชาการและวิชาชีพ วิธีการสอน บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกีWยวกับประเด็นทางจริยธรรมทีWเกีWยวข้อง อภิปรายกลุ่ม กําหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างทีWเกีWยวข้อง หรือกําหนดบทบาทสมมุติ 1.3 วิธีการประเมินผล 1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานทีWได้รับมอบหมายตามขอบเขตทีWให้และ ตรงเวลา 1.3.2 มีการอ้างอิงเอกสารทีWได้นํามาทํารายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม 1.3.3 ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา 1.3.4 ประเมินผลการนําเสนอรายงานทีWมอบหมาย  
บรรยาย อภิปราย การทํางานกลุ่ม การนําเสนอรายงาน สาธิตการสร้างโปรแกรม จากชุดคําสัWง และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลทีWเกีWยวข้อง โดยนํามาสรุปและ นําเสนอ การศึกษาโดยใช้ปUญหา และเน้นผู้เรียนเปdนสําคัญ  
ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
3. ทักษะทางปัญญา
3.1 ทักษะทางปัญญา ทีต้องพัฒนา พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการ ป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น จากการใช้เครือข่าย  
มีความรู้ในหลักการ ความสำคัญ การทำงานของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ การให้ไบอัสแบบต่าง ๆ การออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อนำไปประยุกต์ใช้งานในด้านต่าง ๆ
บรรยาย  อภิปราย การทำงานกลุ่ม  การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และพัฒนาโปรแกรมประยุกต์จากทฤษฏี โดยนำมาสรุปและนำเสนอ ศึกษาโดยใช้ปัญหา  และโครงงาน Problem – based Learning และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2   ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล  กรณีศึกษา หรือโจทย์จาก Problem – based Learning
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ จากหลักทฤษฏี
3.2.1   การมอบให้นักศึกษาทำโครงงานพิเศษที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน
3.2.2   อภิปรายกลุ่ม
3.2.3   วิเคราะห์กรณีศึกษา  ในการนำทฤษฏีเลือกใช้ให้เหมาะสม
3.2.4   การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
3.3.1   สอบย่อย สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีความเข้าใจ วิเคราะห์ และ การประยุกต์ใช้ทฤษฏี
3.3.2   วัดผลจากการประเมินโครงการ  การนำเสนอผลงาน
3.3.3   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2   พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1   จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การค้นบทความ หรือ อ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
4.2.3   การนำเสนอรายงาน
4.3.1   ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3   ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง    
5.1.1   ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
5.1.2   พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน
5.1.3   พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
5.1.4   พัฒนาทักษะในการสืบค้น  ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.5   ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งทางอีเมล์ การสร้างห้องแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ
5.1.6   ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
ตำราเรียนหลัก
- เอกสารประกอบการสอน
   วิชา 32092103  การออกแบบวงจรดิจิทัลลอจิก  (Digital Logic and Circuit Design)
ตำราหรือเอกสารอ่านประกอบ
- Digital Principles and Design  ผู้แต่ง Donad D.Givone
- DIGITAL LOGIC CIRCUIT ANALYSIS &  DESIGN ผู้แต่ง Victor P.Nelson และคณะ
- DIGITAL DESIGN ผู้แต่ง M.Morris Mano
- Introduction to Digital Circuits ผู้แต่ง Theodore F. Bogart
- Introduction to Digital Systems James Palmer, Ph.D. David Perlman
- http://www.eelab.usyd.edu.au/digital_tutorial/toc.html
- http://www.eelab.usyd.edu.au/digital_tutorial/part2/hpage.html
1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทําโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนํา แนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้ การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมิน รายวิชา 
ในการเก็บข้อมูลเพื้อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ 2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา 2.2 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัด กิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ 3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 3.2 การวิจัยนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่ คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผล งานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผล การเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของ นักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนน พฤติกรรม 
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผน การปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื้อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ 5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐาน ผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื้อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ