ภาษาอังกฤษเพื่อการประชุม

English for Meeting

To Study and practice the English vocabulary and expressions needed in typical everyday business meetings from informal to formal meetings, including arranging a meeting and also expression needed in postponing a meeting. Language use in how a meeting starts, how to expess opinion and to interrupt. Useful expressions for chairing the meeting, as well as for the other participants ans also how to draw up an agenda and write the minutes for both formal and informal meetings.
The students would be able to improve communication skill in meetings.
Study and practice language use for leading and taking part in meetings and seminars, including conducting a meeting or a seminar, writing programs and agendas, as well as meeting minutes and report.
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1 มีความพอเพียง มีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง สังคมส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม
1.1.2 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบด้านคุณธรรม จริยธรรม ที่จะเกิดขึ้นกับบุคคล องค์กร  และสังคม
 
1.2.1 จัดกิจกรรมรายวิชาเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธรณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรม
1.2.2 สอดแทรกหลักจรรญาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพในเนื้อหารายวิชา
1.2.3 สร้างวัฒนธรรมองคืกรเพื่อปลูกฝั่งให้นักศึกษามีระบียบวินัย ขยันอดทน มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีความรับผิดชอบในการทำงานกลุ่ม
1.2.4 ส่งเสริมให้นักศึกษาเคารพในคุณค่าและศัดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
1.3.1 การเข้าร่วมกิจกรรมในรายวิชาที่ส่งเสริมให้นักศึกษา มีจิตสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.3.2 การตรงต่อเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามระยะเวลาที่กำหนด และการเข้าร่วมกิจกรรม
1.3.3 การสังเกตุพฤติกรรมในการทำงานเป็นกลุ่ม
2.2.1 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและรวมทั้งการนำไปประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม
 
2.2.1 จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.2.2 จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยการศึกษาดูงานหรือเชิญผู้เชี่ยวชาญมาเป็นวิทยากร
2.2.3 จัดกิจกรรม่ให้นักศึกษาได้ประยุกต์ใช้ความรู้ในการฝึกปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง
2.2.4 มอบหมายงานให้ศึกษา ค้นคว้าเพิ่มเติม นำเสนอและถ่ายทอดความรู้แก่เพื่อนร่วมชั้นเรียนและผู้สนใจทั่วไป
2.3.1 การทดสอบกลางภาคและปลายภาค
2.3.2 รายงานสรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมกิจกรรมหรือการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้
2.3.3 ผลการฝึกปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง
2.3.4 ผลงานจากการค้นคว้าและการนำเสนอ
3.1.1 สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูลและประเมินข้อมูลจากหลายแหล่ง เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ตามสถานการณ์อย่างเหมาะสม 
3.1.2 สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณเป็่นระบบ สร้างสรรค์และมีเหตุผล สามารถบูรณาการความรู้และประสบการณ์มาใช้ในการพัฒนาตนเองและสังคม
3.1.3 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการได้
3.2.1 จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์และทักษะการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ
3.2.2 จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติผ่านทางบทบาทสมมติในสถานการณ์จำลอง
3.2.3 จัดให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์ในสถานประกอบการตามหลักบูรณาการการเรียนการสอนกับการทำงาน
 
3.3.1 การใช้ภาษาของนักศึกษาในบทบาทสมมติหรือสถานการณ์จำลอง
3.3.2 การเลือกใช้ภาษาเพื่อคิดวิเคราะห์ แก้ไขปัญหาและสื่อสารในบริบทต่าง ๆ 
3.3.3 ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษา
4.1.1 มีความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีม มีความรับผิดชอบ ยอมรับฟังและเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.2 มีความสามารถในการประสานงาน การมอบหมายบทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบ
4.1.3 สามารถสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศกับกลุ่มคนหลากหลายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.2.1 สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับหลักมนุษยสัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดีของวัฒนธรรมต่าง ๆ ในเนื้อหารายวิชา
4.2.2 จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมเป็นกลุ่มโดยเปลี่ยนบทบาทให้มีโอกาสเป็นทั้งผู้นำและผู้ตาม
4.2.3 จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมและส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบและการอภิปรายเพื่อหาข้อสรุป
4.2.4 มอบหมายให้นักศึกษาได้เข้าร่วมในการบริการวิชาการแก่สังคมร่วมกับอาจารย์และผู้เกี่ยวข้อง
4.3.1 การทดสอบย่อย กลางภาค และปลายภาค
4.3.2 การสังเกตพฤติกรรมการทำกิจกรรมกลุ่มของนักศึกษา
4.3.3 การสังเกตพฤติกรรมการทำงานเป็นทีมของนักศึกษา
4.3.4 การสังเกตพฤติกรรมและการประเมินการให้บริการวิชาการของนักศึกษา
5.1.1 สามารถอธิบายและสร้างความเข้าใจโดยใช้รูปแบบของสื่อ เทคนิควิธีการ เครื่องมือสื่อสาร และเทคโนโ่ลยีได้อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยวาจาที่เหมาะสม มีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์
5.2.1 สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสารการค้นคว้าข้อมูล และการนำเสนอผลงาน
5.2.2 ให้นักศึกษาใช้เครื่องมือสารสนเทสในการสืบค้น ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อแก้ไขปัญหาต่างๆ จากหัวข้อที่ศึกษา
5.2.3 จัดให้นักศึกษาได้ฝึกใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารในสถานการ์ร และวัฒนธรรมที่หลากหลาย และในการนำเสนองาน
 
5.3.1 ผลงานของนักศึกษาจากงานที่ได้รับมอบหมาย
5.3.2 พฤติกรรมและความสามารถในการใช้ภาษาของนักศึกษาเพื่อสื่อสารในสถานการ์ณต่างๆ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะในการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 6. 1 2 3 4 5 6. 7 8 9 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 6. 7 1 2 3 4 5 6. 1 2 3 4 5
1 BOAEC121 ภาษาอังกฤษเพื่อการประชุม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 3.1.4 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 และ 17 20% และ 20%
2 1.1.2, 2.1.7, 4.1.5, 5.1.2 การส่งงานตามที่มอบหมาย, การศึกาาค้นคว้าและการนำเสนอม การเข้าร่วมกิจกรรม ตลอดภาคการศึกษา 10%
3 6.1.2, 6.1.4 การฝึกปฏิบัติ การทำงานกลุ่ม 14-15 40%
4 1.1.2 จิตพิสัย ตลอดภาคการศึกษา 10%
Stephens, B. (2015). Meetings in English. Macmillan.
Thompson, K. (2007). English for Meetings. Oxford University Press.
-
More information from http://www.google.com
http://www.youtube.com
1.1 นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการฝึกปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง
1.2 นักศึกษาสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้แก่ผู้ร่วมชั้นเรียนและบุคคลทั่วไปได้
2.1 การสอบกลางภาคและปลายภาค
2.2 รายงานสรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมกิจกรรม
2.3 ผลจากการปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง
2.4 ผลจากการนำเสนอการประชุม
ช่วงก่อนการสอนมีการปรึกษาผู้เชี่ยวชาญด้านหลักสูตรหรือวิธีการสอน ช่วงหลังการสอนมีการวิเคราะห์ผลประเมินการสอนโดยนักศึกษา มีการวิเคราะห์ผลการเรียนของนักศึกษาด้านกระบวนการสอน และนำผลการประเมินไปปรับปรุงต่อไป
4.1 ทวนสอบจากคะแนนและผลการศึกษาของแต่ละรายวิชาซึ่งประกอบด้วยคะแนนสอบทฤษฎี ปฏิบัติ และงานที่ได้รับมอบหมาย
4.2 การพิจารณาความเหมาะสมของการวัดผลให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์การสอนโดยมีคณะกรรมการพิจารณา
 
5.1 รวบรวมข้อเสนอแนะหรือข้อมูลจากการประเมินของนักศึกษา ผู้ใช้บัณฑิต ผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ดำเนินการสำรวจไว้
5.2 วิเคราะห์ข้อมูลข้างต้นโดยประธานหลักสูตรและผู้รับผิดชอบหลักสูตร
5.3 เสนอแผนกลยุทธ์ และปรับปรุงหลักสูตรเพื่อให้หลักสูตรมีความทันสมัยและสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใข้บัณฑิต