ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ

Academic English

1.1  สามารถเลือกใช้คำศัพท์และสำนวนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการได้เหมาะสมตามสถานการณ์
1.2  สามารถพูดและเขียนอธิบาย เพื่อแสดงความคิดเห็นตามสถานการณ์เชิงวิชาการได้
1.3  สามารถประยุกต์ ทักษะ ฟัง พูด อ่าน เขียน ภาษาอังกฤษเพื่อสื่อสารในบริบทเชิงวิชาการได้
1.4  สามารถใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองานเป็นภาษาอังกฤษในบริบทเชิงวิชาการได้  
     - เพื่อปรับกระบวนการรายวิชาให้สอดคล้องกับคุณสมบัติ บัณฑิตนักปฏิบัติอันพึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง
ฝึกปฏิบัติทักษะ การฟัง พูด อ่าน เขียนภาษาอังกฤษ และการนำเสนองานในบริบททางวิชาการ
3.1 อาจารย์ประจำรายวิชา  กำหนดเวลาในการให้คำปรึกษา
วันจันทร์ พุธ ศุกร์ เวลา 15.00 - 16.30 น. ห้องพักอาจารย์ โทร 130-131
e-mail; เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน
1.  ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral)
˜1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
˜1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
   1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
š1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. สอดแทรกและส่งเสริมด้าน คุณธรรม จริยธรรมระหว่างการเรียนการสอน
2. ปลูกฝังให้มีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา
3. ใช้กิจกรรมในการปลูกฝังความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
1. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
2. การส่งรายงานตรงเวลา
3. ความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ
2.  ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge)
 
   2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
    2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
˜2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
1. Lecture, Mind Mapping
2. Think Pair Share
3. Brain Storming
4. Collaborative Team Learning
5. Simulation
6. Peer to Peer
7. Online Mobile and Balance Learning
1. งานที่มอบหมาย
2. สถานการณ์จำลอง
3. การสอบ
4. ผลงาน
5. การนำเสนอผลงาน
3.  ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา
(Cognitive Skills)
   3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
˜3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. Lecture, Mind Mapping
2. Think Pair Share
3. Brain Storming
4. Collaborative Team Learning
5. Simulation
6. Peer to Peer
7. Online Mobile and Balance Learning
1. งานที่มอบหมาย
2. สถานการณ์จำลอง
3. การสอบ
4. ผลงาน
5. การนำเสนอผลงาน
4.  ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility)
š4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
˜4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
˜4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. Lecture, Mind Mapping
2. Think Pair Share
3. Brain Storming
4. Collaborative Team Learning
5. Simulation
6. Peer to Peer
7. Online Mobile and Balance Learning
1. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
2. งานที่มอบหมาย
3. สถานการณ์จำลอง
4. ผลงาน
5. การนำเสนอผลงาน
5.  ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร  และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical  Analysis, Communication  and Information Technology Skills)
    5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
    5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
˜5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. Lecture, Mind Mapping
2. Think Pair Share
3. Brain Storming
4. Collaborative Team Learning
5. Simulation
6. Peer to Peer
7. Online Mobile and Balance Learning
1. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
2. สถานการณ์จำลอง
3. ผลงาน
4. การนำเสนอผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2.ด้านความรู้ 3.ด้านปัญญา 4.ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 GEBLC103 ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ให้ระบุหมายเลขข้อย่อยตามผลการเรียนรู้ ทักษะ 5 ด้าน การแสดงออกและมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน 1-15 10%
2 ให้ระบุหมายเลขข้อย่อยตามผลการเรียนรู้ ทักษะ 5 ด้าน -งานที่ได้รับมอบหมาย -การจำลองสถานการณ์ -ทุกสัปดาห์ 20%
3 ให้ระบุหมายเลขข้อย่อยตามผลการเรียนรู้ ทักษะ 5 ด้าน การสอบกลางภาค 9 25%
5 ให้ระบุหมายเลขข้อย่อยตามผลการเรียนรู้ ทักษะ 5 ด้าน การสอบเก็บคะแนนย่อย 3 5 7 11 13 และ 15 20%
6 ให้ระบุหมายเลขข้อย่อยตามผลการเรียนรู้ ทักษะ 5 ด้าน สอบปลายภาค 16 25%
Bob Dignen, Communicating in Business English, 2003
Barnard Roger and Cady, Jeff. Business  Venture1. Oxford: Oxford University Press, 1997.
Hollette, Vicki. Business Opportunities, 8th edition. Oxford: Oxford University Press, 1998.
Grant, David and Mclarty, Robert. Quick Work. Oxford: Oxford University Press, 2002.
Jones-Macziola Sarah and White Greg. Getting Ahead.
Oxford Dictionary of Business English for Learners of English. Oxford: Oxford University Press, 1993.
The Bangkok Post, The Nation, English World, Reader’s Digest, and English World.
Related websites, data recommended, including newspapers and magazines.
www.snr.ac.th
www.freewebs.com
www.4esl.org
www.globalshiksha.com
 
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชาที่จัดทำ โดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษา ไดดังนี้
- การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
- การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน
- แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
- การสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
- ผลการสอบ
- การทบทวนผลประเมินการเรียนรู้
- จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
- มีการวิจัยในชั้นเรียน
 
- การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์ท่านอื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
- มีการแต่งตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
- ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ ตามข้อ 4
- เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีโอกาสได้เรียนรู้ในมุมมองต่างๆ