คณิตศาสตร์สำหรับนักบัญชี

Mathematics for Accountant

        ศึกษาแนวคิดและทฤษฎีคณิตศาสตร์เรื่อง ฟังก์ชัน สมการ และเมตริกซ์ การหาอนุพันธ์ประเภทต่างๆ ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน  ฟังก์ชันกำลังและฟังก์ชันลอการิทึม การอินทิเกรต  มูลค่าปัจจุบันและเงินงวด  รวมทั้งตรรกศาสตร์  การประยุกต์ทางบัญชีและการเงิน
        ศึกษาแนวคิดและทฤษฎีคณิตศาสตร์เรื่อง ฟังก์ชัน สมการ และเมตริกซ์ การหาอนุพันธ์ประเภทต่างๆ ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน  ฟังก์ชันกำลังและฟังก์ชันลอการิทึม การอินทิเกรต  มูลค่าปัจจุบันและเงินงวด  รวมทั้งตรรกศาสตร์  การประยุกต์ทางบัญชีและการเงิน
        ศึกษาแนวคิดและทฤษฎีคณิตศาสตร์เรื่อง ฟังก์ชัน สมการ และเมตริกซ์ การหาอนุพันธ์ประเภทต่างๆ ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน  ฟังก์ชันกำลังและฟังก์ชันลอการิทึม การอินทิเกรต  มูลค่าปัจจุบันและเงินงวด  รวมทั้งตรรกศาสตร์  การประยุกต์ทางบัญชีและการเงิน
 -   อาจารย์ประจำรายวิชา  บอกช่วงเวลาให้คำปรึกษาในชั่วโมงแรก   -   อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้ 
ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น  รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
    1.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา โจทย์พิเศษ 
    1.2.2 อภิปรายกลุ่ม 
    1.2.3 กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง
    1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา 
    1.3.2   มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม 
    1.3.3   ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา 
    1.3.4   ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
        มีความรู้ในแนวคิดและทฤษฎีคณิตศาสตร์เรื่อง ฟังก์ชัน สมการ และเมตริกซ์ การหาอนุพันธ์ประเภทต่างๆ ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน  ฟังก์ชันกำลังและฟังก์ชันลอการิทึม การอินทิเกรต  มูลค่าปัจจุบันและเงินงวด  รวมทั้งตรรกศาสตร์  การประยุกต์ทางบัญชีและการเงิน
        บรรยาย  อภิปราย การทำงานกลุ่ม  การนำเสนอรายงาน ค้นคว้าทาง Internet เกี่ยวกับเนื้อหาที่เกี่ยวข้อง โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
    2.3.1   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี 
    2.3.2   ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล  กรณีศึกษา หรือโจทย์พิเศษ
        พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ การจัดทำเอกสารประกอบการเรียนการสอน
    3.2.1   การมอบให้นักศึกษาทำโครงงานพิเศษที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน 
    3.2.2   อภิปรายกลุ่ม 
    3.2.3   ทำโจทย์พิเศษ 
    3.2.4   การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
    3.3.1   สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 
    3.3.2   วัดผลจากการประเมินโครงการ  การนำเสนอผลงาน 
    3.3.3   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
    4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน 
    4.1.2   พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม 
    4.1.3   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
    4.2.1   จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา 
    4.2.2   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล 
    4.2.3   การนำเสนอรายงาน
    4.3.1   ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด 
    4.3.2  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม 
    4.3.3   ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง   
    5.1.1   ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข 
    5.1.2   พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน 
    5.1.3   พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา 
    5.1.4   พัฒนาทักษะในการสืบค้น  ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต 
    5.1.6   ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
    5.2.1   มอบหมายโจทย์พิเศษให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ 
    5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
    5.3.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี 
    5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1ีีีีีีีีีีีีีีีีีีี 2 3 4 1 2 3
1 BACAC112 คณิตศาสตร์สำหรับนักบัญชี
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.6, 1.7, 2.1, 2.4-2.6, 3.2 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 5, 8, 13, 17 15% 25% 10% 30%
2 1.1, 1.6, 1.7, 2.1, 2.4-2.6, 3.2, 4.1-4.6, 5.3-5.4 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 10%
3 1.1-1.7, 3.1 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วมอภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
เอกสารประกอบการสอน   BSCCC205  คณิตศาสตร์และสถิติ
เลขฐาน  ดอกเบี้ย  สถิติ   แบบฝึกหัด
กัลยา  วานิชย์บัญชา. หลักสถิติ กทม. โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2539 ผ่องศรี   คุ้มจอหอ, พัศนีย์  พันตา และลำดวน  ยอดยิ่ง . สถิติธุรกิจ . กทม. สำนักพิมพ์เอมพันธ์. 2540
-  การสังเกตความสนใจของผู้เรียนขณะทำการสอน -  แบบประเมินผู้สอนผ่านเว็บมหาวิทยาลัย -  ข้อเสนอแนะที่อาจารย์ผู้สอนได้ให้นักศึกษาเสนอแนะ
    ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้ 
    2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน 
    2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา 
    2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
- แก้ไขข้อบกพร่อง จากแบบประเมินที่นักศึกษาประเมินผู้สอน
- การทวนสอบจากการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่นที่ไม่ใช่ผู้สอน  - มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา เช่น ตรวจสอบ ข้อสอบ
- ปรับปรุงการเรียนการสอนตามผลการทวนสอบในข้อ 4 - เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอนเพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้กับปัญหาจากงานวิจัยของอาจารย์ - นำผลการเรียนของนักศึกษามาปรับปรุงประสิทธิภาพของรายวิชา