กระบวนการผลิต

Manufacturing Processes

รู้และเข้าใจเกี่ยวกับทฤษฎีและแนวคิดทางกระบวนการผลิต เช่น กรรมวิธีการหล่อ การขึ้นรูปโลหะ การตัดขึ้นรูปด้วยเครื่องมือกล และการเชื่อมประสาน ความสัมพันธ์ของวัสดุกับกระบวนการผลิต การปรับปรุงคุณสมบัติของโลหะด้วยความร้อนเช่น โลหะกับการขึ้นรูป พอลิเมอร์กับการขึ้นรูป หลักมูลของการประเมินราคาทางด้านกระบวนการผลิต 
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในกระบวนการผลิตขั้นพื้นฐานของทางวิศวกรรม อันเป็นแนวทางในการศึกษาต่อในแขนงวิชาที่เกี่ยวข้องและการนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันต่อไป
ศึกษาเกี่ยวกับทฤษฏีและแนวคิดทางกระบวนการผลิต เช่น กรรมวิธีการหล่อ การขึ้น รูปโลหะ การตัดขึ้นรูปด้วยเครื่องมือกล และการเชื่อมประสาน ความสัมพันธ์ของวัสดุ กับกระบวนการผลิต การปรับปรุงคุณสมบัติของโลหะด้วยความร้อน เช่น โลหะกับการ ขึ้นรูป พอลิเมอร์กับการขึ้นรูป หลักมูลของการประเมินราคาทางด้านกระบวนการผลิต
 
๓.๑ อาจารย์ประจำวิชาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ
1.1.1 ผลการเรียนรู้ เมื่อนักศึกษาเรียนสิ้นสุดรายวิชานี้ นักศึกษาจะมีคุณลักษณะดังนี้
1.1.2 มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์สุจริต และตรงต่อเวลา
1.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและแก้ไขปัญหาได้
1.1.4 มีจรรยาบรรณทางวิชาชีพ
1.2.1  บรรยาย พร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา
1.2.2 อภิปรายกลุ่มและให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง
1.3 ประเมินพฤติกรรมที่เข้าเรียนและรายงานที่ได้รับมอบหมาย
มีความรู้เกี่ยวกับกรรมวิธีการผลิตขั้นพื้นฐาน เช่นกรรมวิธีการหล่อ   การขึ้นรูปโลหะ การตัดขึ้นรูปด้วยเครื่องมือกล  การเชื่อมประสาน  การปรับปรุงคุณสมบัติของโลหะด้วยความร้อน ความสัมพันธ์ของวัสดุกับกระบวนการผลิต
 บรรยาย  อภิปราย  นำเสนอรายงาน   
งานที่มอบหมาย สอบกลางภาคและปลายภาค
 
                              พัฒนาแนวความคิดให้เป็นระบบ และมีแบบแผน มีการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาอย่างเป็นเหตุเป็นผล
งานที่มอบหมายเป็นรายบุคคล 
งานที่มอบหมาย สอบกลางภาคและปลายภาค
พัฒนาทักษะในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
มอบหมายรายงานเป็นรายบุคคล
งานที่ได้รับมอบหมาย
 5.1.1 มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี  5.1.2 มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์ หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์  5.1.3 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ  5.1.4 มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์  5.1.5 สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ 5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีอภิปราย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 เข้าใจในกระบวนการผลิต การนำเสนอหน้าชั้นเรียน 8 10
๑   กุณฑล  ทองศรี.  กรรมวิธีการผลิต.  ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องจักรกลการเกษตรสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล,  2547.
๒ เฉลิมขวัญ  ถรุชบุญยงค์.  การบัญชีเพื่อการจัดการ.  กรุงเทพฯ:  บริษัทซีเอ็ดบูเคชั่น จำกัด  , 2554.
๓   ชลิตต์  มธุรสมนตรี และคณะ, กระบวนการผลิต, ศูนย์ส่งเสริมอาชีวะ,2524
๔  ณรงศ์ศักดิ์  ธรรมโชติ.  วัสดุวิสวกรรม.  กรุงเทพฯ  บริษัทซีเอ็ดบูเคชั่นจำกัด , 2549.
๕ Benjamin W. Niebel, Alan B. Draper and Richard A. Wysk, 1989, Modern Manufacturing Processes Engineering, McGraw-Hill, New York.
๖   B. H. Amstead, Phillip F. Ostwald and Myron L. Begeman, 1986, Manufacturing Processes, John Wiley & Sons, Singapore.
๗  David L. Goetsch, 1991, Modern Manufacturing Processes, Delmar Publishers,  New York.
๘   Dave Smith, 1986, Welding Skills and Technology, McGraw-Hill, Singapore.
๙   Gower A. Kennedy, 1976, Welding Technology, Howard W. Sams &  Co.Inc., Indianapolis.
๑o  John R. Wright and Larry D. Helsel, Introduction to Materials & Processes, Delmar Publishers, New York.
๑๑ Mikell P. Groover, 1996, Fundamentals of Modern Manufacturing : Materials,  Processes and Systems, Prentice-Hall International Inc., USA.
๑๒ Serope Kalpakjian, 1995, Manufacturing Engineering and Technology,  Addison-Wesley Publishing Company, New York.
เว็บไซด์ที่เกี่ยวข้องในแต่ละหัวข้อ
แบบประเมินอาจารย์ผู้สอนและแบบประเมินนักศึกษา
การสังเกตจากการเรียนการสอน ผลการสอบ
การวิจัยในชั้นเรียน
๑ การประเมินผลการเรียนของนักศึกษาโดยออกระดับผลการเรียนให้กับนักศึกษาตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้
๒ รายงานผลการเรียนต่อฝ่ายทะเบียนและวัดผล
ปรับปรุงแนวการสอนจากผลการเมินของนักศึกษาทุกๆ ปี