การเงินธุรกิจ

Business Finance

1. เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับ แนวคิด ความหมายของการเงินธุรกิจ และ เป้าหมายของการจัดการทางการเงิน
ธุรกิจ
2. เพื่อให้รู้แล ะเข้าใจเครื่องมือในการวิเคราะห์งบการเงิน การพยากรณ์ และ การควบคุมทางการเงิน
3. เพื่อให้สามารถวิเคราะห์งบการเงินและพยากรณ์ทางการเงินได้
4. เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับเงินทุนหมุนเวียน และ เข้าใจในการจัดการเงินทุนหมุนเวียน
5. เพื่อให้รู้และเข้าใจการจัดทำงบจ่ายลงทุน
6. เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับ วิธีการจัดหาเงินทุนข องธุรกิจ และ โครงสร้างทางการเงิน
7. เพื่อให้รู้แล ะเข้าใจการจัดทำต้นทุนข องเงินทุน




8. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมนักศึกษา ให้เป็นไปตามคุณลักษณะที่กำหนดในมาตรฐานการเรียนรู้ทั้ง 5 ด้าน
ตามที่กำหนดไว้ในหลักสูตร
1. พัฒนาการเขียนวิเคราะห์ฝึกหัดการสรุปผล การเขียนอธิบาย การตีความ
2. เพิ่มการใช้โปรแกรมในการวิเคราะห์งบการเงิน
ศึกษาความหมายของการเงินธุรกิจ เป้าหมายของการจัดการทางการเงินธุรกิจ เทคนิคในการวิเคราะห์ การ
พยากรณ์ และการควบคุมทางการเงิน การจัดการเงินทุนหมุนเวียน งบจ่ายลงทุน วิธีการจัดหาเงินทุนข องธุรกิจ ต้นทุน
ของเงินทุน และ โครงสร้างทางการเงิน
นักศึกษาสามารถเข้าพบได้ตามตารางเวลาให้นักศึกษาเข้าพบ โดยประมาณ 7 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
1. มีความรับผิดชอบ ความมีน้า ใจ และ การท าประโยชน์ให้กับส่วนรวม
2. มีความมีวินัย การตรงต่อเวลาและ ความซื่อสัตย์
3. สามารถปฏิบัติตามระเบียบของมหาวิทยาลัย และ ข้อตกลงในการเรียน
1. สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม ในเนื้อหาวิชาเรียน
2. ให้ความสำคัญในการมีวินัย การตรงต่อเวลา และการปฏิบัติตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
๑.๓ วิธีการประเมินผล
1. ประเมินจากพฤติกรรมของนักศึกษา เกี่ยวการเข้าชั้นเรียน การตรงต่อเวลา ความมีน้า ใจ และการปฏิบัติ
ในการสอบ
2. ติดตามการปฏิบัติข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียน และ ให้คะแนน 10 คะแนน
1. แนวคิดความหมายของการเงินธุรกิจ และ เป้าหมายของการจัดการทางการเงิน เครื่องมือในการ วิเคราะห์งบ
การเงิน การพยากรณ์ การควบคุมทางการเงิน เงินทุนหมุนเวียน วิธีการจัดหาเงินทุนของธุรกิจ โครงสร้างทางการเงิน
และต้นทุนของเงินทุน
2. เทคนิคในการวิเคราะห์งบการเงิน พยากรณ์ทางการเงินและงบจ่ายลงทุน
3 การบูรณาการความรู้เกี่ยวกับการจัดการทางการเงินกับศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง เช่น ความรู้ด้านเศรษฐกิจ สถิติ
คณิตศาสตร์
1. การสอนแบบบรรยายและกรณีศึกษา
2. การถาม- ตอบในห้องเรียน
1. การทดสอบย่อย
2. การสอบกลางภาค
3. การสอบปลายภาค
1. สามารถสืบค้นข้อมูลและเลือกใช้ข้อมูลมาเพื่อการวิเคราะห์งบการเงินและพยากรณ์ทางการเงินได้พร้อม
ทั้งสามารถอธิบายผลของการ
วิเคราะห์ได้
2. สามารถนำผลที่ได้จากการวิเคราะห์ ไปแก้ไขปัญหาของธุรกิจ และ ใช้เป็นแนวทางในการวางแผนทาง
การเงิน
1. การบรรยาย ยกตัวอย่าง และ การถาม-ตอบในชั้นเรียน
2. ฝึกกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบจากระดับง่ายไปสู่ระดับ ที่สูงขึ้น โดยใช้โจทย์แบบฝึกหัด และ
กรณีศึกษา
1. ประเมินจากผลการแก้โจทย์แบบฝึกหัด และ กรณีศึกษา
2. การทดสอบย่อย




3. การสอบกลาง-ปลายภาค
1. สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
3. มีความรับผิดชอบในการพัฒนาความรู้ของตนเองอย่างต่อเนื่อง
1.ให้มีการอภิปรายกลุ่มย่อย โดยใช้กรณีศึกษา
2. .ให้นักศึกษาร่วมกันรับผิดชอบในการทำงานกลุ่ม
1. สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน โดยนักศึกษาในกลุ่มเป็นผู้ประเมิน
2. ประเมินจากงานที่มอบหมาย
1. สามารถใช้ความรู้เกี่ยวกับการวิเคราะห์งบการเงิน ในการอธิบายความแตกต่างใน ฐานะการเงินและผล การ
ดา เนินงาน
2. สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและเทคนิคการสื่อสารที่เหมาะสมกับผู้ฟัง
1.ให้มีการอภิปรายกลุ่มย่อย โดยใช้กรณีศึกษา
2. .ให้นักศึกษาร่วมกันรับผิดชอบในการทำงานกลุ่ม
1. ประเมินจากงานหรือกรณีศึกษา
2. ประเมินจากการใช้ภาษาพูดในการนำเสนอกลุ่ม
3. ประเมินจากการสอบข้อเขียน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะการปฏิบัติในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ (Hands-on)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 6 7 5 6 1 2 3 4 1 2 3 4 5
1 BBACC107 การเงินธุรกิจ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1,2,3,5 การสอบกลางภาค การสอบปลายภาค การทดสอบย่อย แบบฝึกหัด 9 17 2,8 ทุกสัปดาห์ 35% 35% 10% 10%
2 1,2,3,4,5 สังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน การตอบคำถามในห้องเรียน ทุกสัปดาห์ 10%
หนังสือการเงินธุรกิจ ผู้เรียบเรียง ดร.ชไมพร รัตนเจริญชัย
- ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย การวิเคราะห์งบการเงิน พิมพ์ครั้งที่5 ฉบับปรับปรุง 2551
www.sec.or.th
ใช้แบบประเมินผลอาจารย์ผู้สอนของมหาวิทยาลัยที่กำหนดให้มีการประเมินการสอนผู้สอนโดยนักศึกษาทุกภาค


การศึกษา
ประเมินการสอนจากผลสอบของนักศึกษา
ปรับปรุงจุดบกพร่องในการสอนตามผลการประเมินของนักศึกษา
ปรับปรุงการสอนโดยประเมินจากผลการสอบ การวิเคราะห์ปัญหา และกรณีศึกษา
ตรวจสอบความถูกต้องในการประเมินผลสัมฤทธิ์รายวิชาของนักศึกษา
ตรวจสอบความตรงประเด็นของข้อสอบกับมาตรฐานผลการเรียนรู้ของสาขาวิชา
นำผลประเมินข้อ1 ข้อ3 ข้อ4 มาปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา เรื่องผู้สอน ตารางเรียน การทบทวนเพื่อ
ปรับปรุงเนื้อหา และการออกข้อสอบ