ฝึกงานทางวิชาชีพเครื่องจักรกลเกษตร

Job Internship in Agricultural Machinery

เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจและสามารถปฏิบัติงานเกี่ยวกับงานทางเครื่องจักรกลเกษตรในสถานประกอบการ งานบริหาร งานจัดการ การทำงานร่วมกับผู้อื่น และทักษะทางสังคมอื่น ๆ เพื่อเตรียมความพร้อมสู่งานอาชีพทางเครื่องจักรกลเกษตร
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ขั้นพื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญญาในการนำความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการปฏิบัติงานในสถานประกอบการ เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาทางด้านเครื่องจักรกลเกษตรที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิงให้สอดคล้องกับความก้าวหน้าทางวิศวกรรมและเทคโนโลยีในปัจจุบัน
ฝึกปฏิบัติงานทางเครื่องจักรกลเกษตรในสถานประกอบการ งานบริหาร งานจัดการ การทำงานร่วมกับผู้อื่น และทักษะทางสังคมอื่น ๆ เพื่อเตรียมความพร้อมสู่งานอาชีพทางเครื่องจักรกลเกษตร
1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
4. การสอนฝึกปฏิบัติการ  
5. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
6. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
7. การสอนในห้องปฏิบัติการ  
8. การสอนแบบบรรยาย  
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.สถานการณ์จำลอง
3.การเขียนบันทึก
4.โครงการกลุ่ม
5.การสังเกต
6.การนำเสนองาน
7.การประเมินตนเอง
8.การประเมินโดยเพื่อน
1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. การสอนฝึกปฏิบัติการ  
1.สถานการณ์จำลอง
2.การเขียนบันทึก
3.โครงการกลุ่ม
4.นิทรรศการ
5.การสังเกต
6.การนำเสนองาน
7.การฝึกตีความ
8.ข้อสอบอัตนัย
9. ข้อสอบปรนัย
10.แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ
11.การประเมินตนเอง
12.การประเมินโดยเพื่อน
1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. การสอนฝึกปฏิบัติการ  
1.แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ
1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. การสอนฝึกปฏิบัติการ  
1.แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ
1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ใช้  Power point
มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยวิธีโปสเตอร์ และวาจา
1.แฟ้มสะสมงาน
2.การเขียนบันทึก
1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
2 สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
3 สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
ปฏิบัติภาคสนาม/สถานประกอบการ
สหกิจศึกษา/ฝึกงาน
โครงงาน
ส่วนการปฏิบัติการในห้องปฏิบัติการ หรือการใช้เครื่องมือ การวิจัย เป็นทักษะทางปัญญา
1.แฟ้มสะสมงาน
2.การเขียนบันทึก
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 2 1 2 2 2 3
1 24019401 ฝึกงานทางวิชาชีพเครื่องจักรกลเกษตร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ฝึกงานตามที่ได้รับมอบหมายจากหัวหน้างานในสถานประกอบการ ทำงานจริงสอนโดยหัวหน้างาน ในสถานประกอบการ สมุดบันทึก ใบประเมินจากสถานประกอบการ 20 70
คู่มือสมุดยันทึกการปฏิบัติงาน
-
-
1.1 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.2 ข้อแนะนำผ่านเว็บบอร์ดใน LMS ประจำรายวิชาที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
2.1 สังเกตการสอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ประเมินจากผลการประเมินผู้สอนและผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินผลการเรียนรู้
2.4 เน้นกระบวนการผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยให้นักศึกษาเป็นตัวกลางในการเรียนรู้
หลังจากได้รับผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จะมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง สรรหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน และจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะปรับปรุงการสอนในข้อ 3 และผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4