ออกแบบและเขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์

Computer Aided Design and Drawing

1.1 รู้หลักการใช้อุปกรณ์และเครื่องมือในการเขียนแบบ 1.2 เข้าใจหลักการในการเขียนแบบวิศวกรรม 1.3 มีทักษะในการปฏิบัติงานเขียนแบบวิศวกรรม 1.4 รู้หลักการในการเขียนชิ้นส่วนและเครื่องมือ 1.5 มีเจตคติที่ดีต่องานเขียนแบบวิศวกรร
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ด้านการเขียนแบบ วิศวกรรม เป็นการเตรียมความพร้อมในการน าความรู้ ความเข้าใจ ในวิชาการเขียนแบบพื้นฐาน เครื่องจักรกลเกษตร     เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ควรมีการเปลี่ยนแปลง ตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย 
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ การใช้เครื่องมือและตัวอักษรที่ใช้ในการเขียนแบบ รูปทรง เรขาคณิตประยุกต์ การเขียนแบบภาพฉาย ภาพสามมิติ  การก าหนดขนาดและรายการประกอบแบบ และเทคนิคการร่างภาพ 
-
1 มีจิตส านึกสาธารณะและ ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการ หรือวิชาชีพ
3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อ เวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
4 เคารพสิทธิในคุณค่าและ ศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย
1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษาเกี่ยวกับประเด็นทาง จริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการ ปฏิบัติงานในโรงงานโดยมีวัตถุประสงค์ไม่สุจริตหรือจาก มิจฉาชีพ การป้องกันตนเอง
2 อภิปรายกลุ่มและฝึกปฏิบัติงาน จริง
3 กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้องหรือกำหนดบทบาท สมมุต
1. พฤติกรรมการเข้าเรียน และ ส่งงานที่ได้รับมอบหมายตาม ขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
2   มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและ เหมาะสม
3   ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4   ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติใน เนื้อหาที่ศึกษา 
2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและ เทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
3 สามารถวัดและประเมินผลด้านการเรียนรู้ 
บรรยาย  อภิปราย การ ทำงานกลุ่ม  ทั้งด้านทฤษฎีและ ปฏิบัติ  และมอบหมายให้ค้นหาบทความข้อมูลที่เกี่ยวข้องฝึกปฏิบัติงานจริงตามหน่วยเรียน โดยนำมาสรุปและนำเสนอและเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
1. สอบกลางภาค สอบปลายภาคด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฎี
2. ประเมินจากการนำเสนองานในการฝึกปฏิบัติงานในแต่ละหน่วยเรียน
1 มีทักษะปฏิบัติจากการ ประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการ หรือวิชาชีพ
2 มีทักษะในการน าความรู้มา คิดและใช้อย่างมีระบ
1 การมอบให้นักศึกษาปฏิบัติงาน ในพื้นที่จริงตามหัวข้องานในแต่ละหน่วยเรียน และการนำเสนอผลงาน
2   อภิปรายกลุ่ม
1. สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ
2 วัดผลจากการประเมินโครงการนำเสนอผลงาน
3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไข ปัญหา 
1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
2   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล  
3   การนำเสนอรายงาน
1. ประเมินจากรายงานที่นำเสนอพฤติกรรมการทำงานเป็นทีม 
2. ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง 
1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
2 สามารถสืบค้นศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม  
3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือ ต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมี ประสิทธิภาพ   
1. มอบหมายงานให้ศึกษา ค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อ การสอน E- Learning และท า รายงานโดยเน้นการน าตัวเลข หรือ มีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่ น่าเชื่อถือ
2  นำเสนอโดยรูปแบบและ เทคโนโลยีที่เหมาะสม
1. ประเมินมาจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
2. ประเมินจากการมีส่วนร่วมใน การอภิปรายและวิธีการอภิปราย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 2 1 3 2 3
1 BSCFM143 ออกแบบและเขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.2, 1.3, 1.4, 2.1, 2.2, 3.1, 3.2, 4.1, 4.2, 4.3, 4.4, 5.1, 5.2, 5.3, การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-16 10
ชุมพล ศฤงคารศิริการ เขียนแบบวิศวกรรม  กรุงเทพฯ   ส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น), สนพ. สมาคม
นริศ ศรีเมฆ เขียนแบบวิศวกรรม กรุงเทพ ฯ ส านักพิมพ์เอมพันธ์  ISBN974-216-529-
-
-
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดท าเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู
3.1   เพิ่มแนวทางการวิเคราะห์ปัญหาที่ทันต่อเทคโนโลยี และปัญหาที่ไม่เคยพบเห็นมาก่อน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือ ผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจ าหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับ ปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ