โปรแกรมภาษาทางเลือก

Selected Programming Language

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการ ในด้านต่าง ๆ ดังนี้

เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเขียนภาษาโปรแกรมอีกหนึ่งภาษาหรือมากกว่าที่เป็นกรณีศึกษา เพื่อให้นักศึกษาได้รู้จักภาษาโปรแกรมเพิ่มเติม
-
ศึกษาภาษาโปรแกรมอีกหนึ่งภาษาหรือมากกว่าที่เป็นกรณีศึกษา ภาษาที่เปิดสอนอาจเปลี่ยนแปลงได้ในแต่ละภาคการศึกษา และจะมีการแจ้งให้นักศึกษาทราบล่วงหน้า วัตถุประสงค์ของรายวิชานี้ คือ เพื่อให้นักศึกษาได้รู้จักภาษาโปรแกรมเพิ่มเติม
อาจารย์ประจำรายวิชาให้ e-mail เป็นช่องทางในการให้คำปรึกษา อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1. ตระหนักในคุณค่าและ คุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และ ซื่อสัตย์สุจริต
2. มีวินัย ตรงต่อเวลา และ ความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม
3. มีภาวะความเป็นผู้นําและ ผู้ตาม สามารถทํางานเป็นทีมและ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและ ลําดับความสําคัญ
4. เคารพสิทธิและรับฟังความ คิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพใน คุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็น มนุษย์
5. เคารพกฎระเบียบและ ข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและ สังคม
6. สามารถวิเคราะห์ ผลกระทบจากการใช้ คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและ สังคม
7. มีจรรยาบรรณทางวิชาการ และวิชาชีพ
การสอนแบบบรรยายพร้อมยกตัวอย่างและฝึกปฏิบัติงาน เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม มอบหมายงานกลุ่มที่เสริมสร้างการวางแผนการทำงาน การทำงานเป็นทีม การรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กรเพื่อปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย เน้นการเข้าห้องเรียนให้ตรงเวลา ตลอดจนการแต่งกายให้ถูกระเบียบของมหาวิทยาลัย มีความซื่อสัตย์โดยไม่ทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านหรือผลงานของผู้อื่น สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมในการสอนในรายวิชา
พิจารณาจากการส่งงานของนักศึกษาทั้งงานกลุ่มและเป็นรายบุคคลที่เป็นแบบฝึกหัดและงานที่ได้รับมอบหมายอย่างถูกต้องและตรงเวลา การนำเสนองาน การสังเกตพฤติกรรม การเข้าห้องเรียน การแต่งกายถูกระเบียบของมหาวิทยาลัยและการทำงานเป็นกลุ่ม
1. มีความรู้และความเข้าใจ เกี่ยวกับหลักการเเละทฤษฎีที่ สําคัญในเนื้อหาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
2. สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการ ทางคอมพิวเตอร์ รวมทั้งประยุกต์ ความรู้ทักษะ และการใช้ เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไข ปัญหา
3. สามารถวิเคราะห์ ออกแบบ ติดตั้ง ปรับปรุงและ/ หรือประเมินระบบองค์ประกอบ  ต่าง ๆ ของระบบเทคโนโลยี สารสนเทศให้ตรงตามข้อกําหนด
4. สามารถติดตาม ความก้าวหน้าและวิวัฒนาการ คอมพิวเตอร์ รวมทั้งการนําไป ประยุกต์
5. รู้ เข้าใจและสนใจพัฒนา ความรู้ ความชํานาญทาง คอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง
6. มีความรู้ในแนวกว้างของ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และ เข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยี ใหม่ๆ
7. มีประสบการณ์ในการพัฒนาและ /หรือการประยุกต์ซอฟต์แวร์ที่ใช้งานได้จริง
8. สามารถบูรณาการความรู้ ในสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ กับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่ เกี่ยวข้อง
การสอนแบบบรรยายและฝึกปฏิบัติ ที่ครอบคลุมเนื้อหาทางทฤษฎีและปฏิบัติทั้งหมดในรายวิชาโดยใช้สื่อประกอบการสอน ยกตัวอย่างกรณีศึกษาพร้อมให้นักศึกษา วิเคราะห์ปัญหา ร่วมอภิปราย แสดงความคิดเห็น ให้นักศึกษาสืบค้นหาข้อมูลเทคโนโลยีใหม่ๆที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหารายวิชาในชั่วโมงเรียน
ประเมินผลจากแบบทดสอบ การสอบลางภาคและปลายภาคด้วยข้อสอบที่เน้นทฤษฎีและปฏิบัติ ประเมินผลจากแบบฝึกหัดและงานที่ได้รับมอบหมาย ประเมินจากการทำรายงานและการนำเสนอ
 
1. คิดอย่างมีวิจารณญาณ และอย่างเป็นระบบ
2. สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อให้ ในการแก้ไขปัญหาอย่าง
3. สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหา และความต้องการ
4. สามารถประยุกต์ความรู้ และทักษะกับการแก้ไขปัญหา ทางคอมพิวเตอร์ได้อย่าง เหมาะสม
การสอนแบบบรรยายและฝึกปฏิบัติ ที่ครอบคลุมเนื้อหาทางทฤษฎีและปฏิบัติ การมอบหมายให้นักศึกษาทำงานกลุ่ม นำเสนอผลการศึกษา เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถามเพื่อแสดงความคิดเห็นระหว่างผู้สอนกับนักศึกษา และระหว่างนักศึกษากับนักศึกษา
ประเมินผลจากแบบทดสอบ การสอบกลางภาคและปลายภาคด้วยข้อสอบที่เป็นทั้งทฤษฎีและปฏิบัติ ประเมินจากการทำรายงานและการนำเสนอ สังเกตพฤติกรรมในการแก้ไขปัญหา
1. สามารถสื่อสารกับกลุ่มคน หลากหลายและสามารถสนทนา ทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ อย่างมีประสิทธิภาพ
2. สามารถให้ความช่วยเหลือ และอํานวยความสะดวกเเก่การ แก้ปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆใน กลุ่มทั้งในบทบาทของผู้นํา หรือ ในบทบาทของผู้ร่วมทีมทํางาน
3. สามารถใช้ความรู้ใน ศาสตร์มาชี้นําสังคมในประเด็นที่ เหมาะสม
4. มีความรับผิดชอบในการ กระทําของตนเองและรับผิดชอบ งานในกลุ่ม
5. สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดง ประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้ง แสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้ง ของตนเองและของกลุ่ม
6. มีความรับผิดชอบการ พัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
มอบหมายงานกลุ่มงานรายบุคคล และการนำเสนอรายงาน
ประเมินการเข้าชั้นเรียนและการตรงต่อเวลาของนักศึกษา ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ
1. มีทักษะในการใช้เครื่องมือ ที่จําเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการ ทํางานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
2. สามารถแนะนําประเด็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศ ทางคณิตศาสตร์หรือการแสดง สถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่ เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์
3. สามารถสื่อสารอย่างมี ประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและ การเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อ การนําเสนออย่างเหมาะสม
4. สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่ออย่างเหมาะสม
-   การนำเสนองาน
-   การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประเมินจากรายงานและการนำเสนอด้วยสื่อทางเทคโนโลยี
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านทักษะคุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา 3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 ตระหนักในคุณค่าและ คุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และ ซื่อสัตย์สุจริต 1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และ ความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม 1.3 มีภาวะความเป็นผู้นําและ ผู้ตาม สามารถทํางานเป็นทีมและ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและ ลําดับความสําคัญ 1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความ คิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 1.5 เคารพกฎระเบียบและ ข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและ สังคม 1.6 สามารถวิเคราะห์ ผลกระทบจากการใช้ คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม 1.7 มีจรรยาบรรณทางวิชาการ และวิชาชีพ 2.3 สามารถวิเคราะห์ ออกแบบ ติดตั้ง ปรับปรุงและ/ หรือประเมินระบบองค์ประกอบ ต่าง ๆ ของระบบเทคโนโลยี สารสนเทศให้ตรงตามข้อกําหนด 2.4 สามารถติดตาม ความก้าวหน้าและวิวัฒนาการคอมพิวเตอร์รวมทั้งการนําไปประยุกต์ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการเเละทฤษฎีที่สําคัญในเนื้อหาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 2.2 สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการ ทางคอมพิวเตอร์รวมทั้งประยุกต์ ความรู้ทักษะและการใช้ 2.5 รู้ เข้าใจและสนใจพัฒนาความรู้ ความชํานาญทางคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง 2.6 มีความรู้ในแนวกว้างของ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และ เข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ 2.7 มีประสบการณ์ในการพัฒนาและ/หรือการประยุกต์ซอฟต์แวร์ที่ใช้งานได้จริง 2.8 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 4.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคน หลากหลายและสามารถสนทนา ทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ 4.2 สามารถให้ความช่วยเหลือ และอํานวยความสะดวกเเก่การแก้ปัญหาสถานการณ์ต่างๆใน กลุ่มทั้งในบทบาทของผู้นํา หรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทํางาน 4.3 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นําสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 4.4 มีความรับผิดชอบในการกระทําของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม 4.5 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม 4.6 มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง 5.1 มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จําเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทํางานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 5.2 สามารถแนะนําประเด็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์ 5.3 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อการนําเสนออย่างเหมาะสม 5.4 สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่ออย่างเหมาะสม 3.1 คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ 3.2 สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อให้ ในการแก้ไขปัญหาอย่าง 3.3 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหา และความต้องการ 3.4 สามารถประยุกต์ความรู้ และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม
1 22122307 โปรแกรมภาษาทางเลือก
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1-2.8 สอบกลางภาค 9 25%
2 2.1-2.8 สอบปลายภาค 17 25%
3 1.2, 1.6, 4.1-4.6, 5.1-5.4 การค้นคว้า การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 10%
4 2.1-2.8, 3.1-3.4 สอบปฏิบัติการเขียนโปรแกรม 14 15%
5 3.1-3.4, 4.1-4.6, 5.1-5.4 การนำเสนอรายงานเดี่ยวและงานกลุ่มการทำงานกลุ่ม 16 15%
6 1.1-1.7 - จิตพิสัย - การเข้าชั้นเรียน - การมีส่วนร่วม - อภิปราย - เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
1) จักรกฤษณ์ แสงแก้ว, 2549, การเขียนโปรแกรมภาษาไพธอนด้วยตนเอง, พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุงเทพฯ : สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น).
2) โชติพันธุ์ หล่อเลิศสุนทร และ ฐิตะพันธุ์ หล่อเลิศสุนทร, 2559, คู่มือเรียนเขียนโปรแกรม Python (ภาคปฏิบัติ), พิมพ์ครั้งที่ 1, นนทบุรี :  คอร์ฟังก์ชั่น.
Link สำหรับ Download โปรแกรม => https://www.python.org/downloads/
1) MarcusCode, (28 เม.ย. 2561), ภาษา Python, สืบค้นเมื่อ พฤษภาคม 25, 2561, เว็บไซต์ : http://marcuscode.com/lang/python
2) ทวีรัตน์ นวลช่วย, Python Programming, สืบค้นเมื่อ พฤษภาคม 25, 2561, เว็บไซต์ : https://sites.google.com/site/dotpython/installation/1-0-bthna
3) วิกิตำรา, (19 ก.พ. 2560), ภาษาไพทอน 3 สำหรับผู้ไม่เคยเขียนโปรแกรม/เริ่มต้น, สืบค้นเมื่อ พฤษภาคม 25, 2561, เว็บไซต์ : https://th.wikibooks.org/wiki/ภาษาไพทอน 3 สำหรับผู้ไม่เคยเขียนโปรแกรม/เริ่มต้น
4) สุชาติ คุ้มมะณี,(13 ม.ค. 2561) เชี่ยวชาญการเขียนโปรแกรมด้วยไพธอน, สืบค้นเมื่อ พฤษภาคม 25, 2561, เว็บไซต์ : https://isan.msu.ac.th/suchart/Python/ProgrammingExpertwithPython.pdf
5)  เว็บไซด์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อในประมวลรายวิชา
นักศึกษาประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ด้านวิธีการสอน สิ่งสนับสนุนการเรียนการโดย
1.1  แบบประเมินความพึงพอใจการเรียนการสอน โดยฝ่ายวิชาการของมหาวิทยาลัย 
1.2  การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
การเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การพิจารณาผลการเรียนของนักศึกษา
2.2   การพิจารณาผลงานที่มอบหมาย
2.3   การขอรับคำปรึกษาและสังเกตการณ์ของผู้สอน
 หลังจากทราบผลการประเมินการสอน จึงมีการปรับปรุงการเรียนการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   รวบรวมปัญหาการเรียนของนักศึกษาและแนวทางแก้ไข โดยพิจารณาจากประเด็นในการประเมินความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอนของนักศึกษา
3.2   การจัดทำและพัฒนาเอกสารประกอบการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์จากการเรียนรู้ในวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษาหรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบ และหลังการออกผลการเรียน มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
           4.1   มีการให้ข้อมูลย้อนกลับแก่นักศึกษา เพื่อนำไปพัฒนาการเรียนรู้ของตนเอง
           4.2   ให้นักศึกษามีโอกาสตรวจสอบคะแนนก่อนรายงานผลการเรียน
ผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  โดยมีการปรับปรุงเนื้อหา ตัวอย่างที่ใช้ในการเรียนการสอนให้ทันต่อเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป