ปฏิบัติการโรงงานเฟอร์นิเจอร์ไม้แผ่นวิทยาศาสตร์

Wood Sheet Furniture Workshop

1. มีความรู้ และเข้าใจในหลักการรวมไปถึงการปฏิบัติการเกี่ยวกับการผลิตเฟอร์นิเจอร์ไม้ แผ่นวิทยาศาสตร์
2. มีทักษะในทางปฏิบัติการเกี่ยวกับเรื่องเฟอร์นิเจอร์ไม้แผ่นวิทยาศาสตร์
3. สามารถประยุกต์ใช้หลักการและทฤษฎีการผลิตเฟอร์นิเจอร์ไม้แผ่นวิทยาศาสตร์อย่าง เหมาะสมกับลักษณะงานที่ปฏิบัติ
4. สามารถผลิตผลงานต่างๆ ที่ใช้ทฤษฎีและหลักปฏิบัติการเกี่ยวกับเฟอร์นิเจอร์ไม้แผ่น วิทยาศาสตร์
5. เห็นความส าคัญต่อการน าหลักการเกี่ยวกับเฟอร์นิเจอร์ไม้แผ่นวิทยาศาสตร์มาใช้ในการ ผลิตเพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพและผลผลิตทางด้านเครื่องเรือน
      เพื่อให้เนื้อหาในรายวิชาปฏิบัติการเทคโนโลยีพื ้นฐานการผลิตมีความสอดคล้องกับสภาพของ เทคโนโลยีการผลิตที่ปรับเปลี่ยนไป และเพื่อท าให้สามารถที่มุ่งเน้นการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใน ส่วนของการปฏิบัติการที่ท าให้เกิดการน าไปประยุกต์ใช้ในการผลิตที่มีประสิทธิภาพต่อไป
ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับกระบวนการผลิตเฟอร์นิเจอร์ไม้แผ่นวิทยาศาสตร์  การเขียนแบบเพื่อการผลิต การใช้เครื่องจักร และ วัสดุ อุปกรณ์ ตลอดจนการวางแผนการผลิต การตรวจสอบ คุณภาพ และการตกแต่งการเคลือบผิว
ผู้สอนจัดเวลาให้ค าปรึกษาแนะน าทางวิชาการแก่นักศึกษา โดยการใช้ช่วงเวลาหลังจากการ เรียนการสอน เป็นเวลา 15 นาที และให้นักศึกษาติดต่ออาจารย์ผู้สอน
1.1.1 การมีระเบียบวินัย การมาเข้าเรียน
1.1.2 การมาเข้าเรียนตรงตามเวลาที่ก าหนด
1.2.1 อธิบายถึงความส าคัญของการมาเข้าเรียนอย่างสม ่าเสมอของนักศึกษา
1.2.2 อธิบายถึงการก าหนดระยะเวลาการเรียนต่อสัปดาห์ต่อภาคการศึกษา
1.3.1 การให้คะแนนนักศึกษาในการมาเข้าเรียนอย่างสม ่าเสมอ
1.3.2 การให้คะแนนนักศึกษาในการมาเข้าเรียนตามระยะเวลาที่กำหนดต่อภาค การศึกษา
การใช้เครื่องมือ เครื่องจักรกลงานไม้ วัสดุและอุปกรณ์ ที่ใช้ในการผลิตชิ้นงาน เครื่องเรือน การก าหนดรายละเอียดขั้นตอนการผลิต ชิ้นส่วน ชิ้นงาน ความปลอดภัยในการใช้ เครื่องมือ เครื่องจักรกลงานไม้ ทักษะความรู้จากการฝึกปฏิบัติ การลงมือทำการผลิตชิ้นงาน เครื่องเรือน
การสอนแบบอธิบายความเข้าใจ เอกสารประกอบการสอน เนื ้อหาจากเอกสารที่ได้รับ การฝึกปฏิบัติจากการลงมือท าจริง การผลิตเครื่องเรือน
2.3.1 การให้คะแนนจากการฝึกทักษะการปฏิบัติจากเครื่องมือ เครื่องจักร วัสดุ อุปกรณ์
2.3.2 การให้คะแนนจากการฝึกปฏิบัติจริง ด้วยความปลอดภัย
2.3.3 การให้คะแนนจากผลงานชิ ้นงานที่นักศึกษาได้ด าเนินการ
การฝึกปฏิบัติงานจริงกับชิ ้นงานที่ก าหนดไว้ การแก้ไขปัญหาระหว่างการใช้เครื่องมือ เครื่องจักรกลงานไม้ ความปลอดภัยที่ต้องมีความระมัดระวังอย่างยิ่ง ในการใช้เครื่องมือ เครื่องจักรกล งานไม้ที่มีความคม
3.2.1 การตรวจสอบความพร้อมของเครื่องจักรกลงานไม้ทุกครั ้งก่อนการลงมือ ปฏิบัติงานจริง
3.3.1 การให้คะแนนการตรวจสอบความพร้อมของเครื่องจักรกลงานไม้ทุกครั ้งก่อนการ ลงมือปฏิบัติงานจริง
4.1.1 การศึกษาและการฝึกปฏิบัติบ่อยครั ้งอย่างต่อเนื่องของนักศึกษา
4.2.1 การปฏิบัติการผลิตชิ ้นงานที่มอบหมายให้นักศึกษา ตามขั ้นตอนการผลิตชิ ้นงาน เครื่องเรือน
4.2.2 การใช้เครื่องมือเครื่องจักร วัสดุและอุปกรณ์
4.3.1 การตรวจให้คะแนนผลงานชิ้นงานที่มอบหมายให้นักศึกษา แต่ละคนตาม ขั้นตอนที่ได้กำหนดไว้ก่อนการปฏิบัติงาน จนถึงได้ผลงานชิ้นงานสำเร็จ
5.1.1 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหา อย่างเหมาะสม
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง การหาข้อมูลจากแหล่งที่มาข้อมูลที่ น่าเชื่อถือ
5.3.1 ประเมินผลจากผลงานที่ให้ไปค้นคว้าและรายงานที่ได้รับมอบหมาย
6.1.1 มีทักษะด้านออกแบบและใช้เครื่องมือปฏิบัติงานสองมิติ
6.1.2 มีทักษะในการสร้างหรือผลิตหุ่นจ าลอง ผลิตภัณฑ์ต้นแบบ
6.1.3 มีทักษะด้านแนวคิดทางการออกแบบ ด้านความงาม ด้านประโยชน์ใช้สอย
6.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาข้อมูลเพื่อสร้ างแนวคิดในการออกแบบและน าเสนอ งานออกแบบให้เหมาะสมกับการเคลือบผิว
6.2.2 ให้นักศึกษาลงมือปฏิบัติสร้างผลงานเครื่องเรือน
6.2.3 มอบหมายให้นักศึกษาผลิตชิ ้นงานเฟอร์นิเจอร์ไม้แผ่นวิทยาศาสตร์
6.3.1 ประเมินจากผลงานที่ได้ปฏิบัติงานของนักศึกษาที่ได้รับมอบหมาย ตาม กระบวนการผลิตเฟอร์นิเจอร์ไม้แผ่นวิทยาศาสตร
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BAAID142 ปฏิบัติการโรงงานเฟอร์นิเจอร์ไม้แผ่นวิทยาศาสตร์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1 ,2 ,3 ,4,5 - ความสนใจในการเรียน และลักษณะ นิสัยในการท างาน - การท ารายงานการศึกษาค้นคว้าพิเศษ ทางสื่ออีเล็กทรอนิกส์ 16 , 15 10% , 10%
2 1 ,2 ,3 ,4,5 - ประเมินจากระดับผลงานที่ปฏิบัติใน แต่ละใบงานที่ก าหนด - ประเมินจากผลการทดสอบ ตลอดภาค การศึกษา 16 30% , 20%
3 1 ,2 ,3 ,4,5 - รายงานวิเคราะห์ความเหมาะสมใน การใช้เครื่องมือในการผลิตชิ ้นส่วนต่างๆ ของผลิตภัณฑ์ 16 5%
4 1 ,2 ,3 ,4,5 - ความสมบูรณ์ของแผนการผลิตชิ ้นงาน ละความเหมาะสมในการเลือกใช้ เครื่องมือในการผลิต - ความสมบูรณ์ของชิ ้นงานขึ ้นรูป เช่น สัดส่วน ขนาด ผิวชิ ้นงาน เป็นต้น 16 , 15 10% , 5%
5 1 ,2 ,3 ,4,5 - ประเมินจากความถูกต้องของขนาด และสัดส่วนของชิ้นงานที่นักศึกษ า กำหนด 16 10%
ประณต กุลประสูตร. (2557). เทคโนโลยีเครื่องจักรกลงานไม้. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์ บริษัท ธนาเพรส จำกัด
ศิระ จันทร์สวาสดิ์, ศานิต ปันเขื่อนขัตย์และสุพัตร์  ศรีพงษ์สิทธิ์. (2550). คู่มือช่างในบ้าน ช่างไม้ในบ้าน. (พิมพ์ครั ้งที่ 8). กรุงเทพมหานคร : บ้านและสวน. สำนักพิมพ์สายธุรกิจโรงพิมพ์ บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด
สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2550). นวัตกรรมเทคโนโลยีงานไม้. (พิมพ์ครั ้งที่ 1). กรุงเทพมหานคร
ประณต กุลประสูตร. (2557). เทคนิคงานไม้. (พิมพ์ครั้งที่ 18). กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เกียรติศกัดิ์จนั ทร์แดง. (2549). การบริหาร การผลิตและการปฏิบัติการ. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์ วิตตี้กรุ๊ป
บรรหาร ลิลา. (2553). การวางแผนและควบคุมการผลิต. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์ท้อป จำกัด
บุญธรรม ภัทราจารุกุล. (2556). ความปลอดภัยในงานอาชีพ. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์ บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น จ ากัด (มหาชน)
บุญธรรม ภัทราจารุกุล. (2543). มาตรฐานการปฏิบัติงาน เพื่อความปลอดภัย. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์ ส.ส.ท. สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่ น)
ไม่มี
ไม่มี
การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา ได้ทำการจัดกิจกรรมเพื่อน าเสนอแนวทางในการ เพิ่มประสิทธิผลของรายวิชา ดังนี ้
1. การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนกับนักศึกษา
2. การให้นักศึกษาเสนอข้อคิดเห็นต่างๆเพื่อเพิ่มประสิทธิผลของการประเมิน
3. ผู้สอนและนักศึกษาร่วมกันอภิปรายเกณฑ์ และข้อก าหนดต่างๆในการประเมินผล
4. ร่วมกันสังเคราะห์และปรับปรุงวิธีการ เกณฑ์ และเครื่องมือในการประเมินผลร่วมกันระหว่าง
ผู้สอน ผู้เชี่ยวชาญ และนักศึกษา
1. ใช้การสร้างเครื่องมือในการประเมินผลการสอนที่หลากหลาย
2. กำหนดสถานการณ์ในการประเมินผลการสอนที่เหมาะสมกับสภาวการณ์ของผู้เรียน
1. ร่วมกันสังเคราะห์และปรับปรุงวิธีการสอนร่วมกันระหว่างผู้สอน ผู้เชี่ยวชาญ และนักศึกษา
2. การวิจัยในชั้นเรียน
3. การศึกษาผู้เรียนเป็นรายบุคคล
การทบสอบมาตรฐานผลสมั ฤทธิ์รายวิชาของนกัศึกษาอาศยัทงั้ปัจจัยภายในและภายนอกที่มีผล ตอ่ กระบวนการจดั การเรียนการสอน การทวนสอบทงั้กระบวนการ ผลลพัธ์และผลสมั ฤทธิ์เพื่อยืนยัน ว่าผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ผลการประเมินการสอนนั ้นมีความน่าเชื่อถือ การทวนสอบ มาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของรายวิชาของนักศึกษา ด าเนินการทุครัง้ที่มีการจัดการเรียนการสอนใน รายวิชานี ้
1. ทวนสอบจากการประเมินพฤติกรรมของผู้เรียน (ลักษณะนิสัย ได้แก่ การเข้าเรียน และการ สังเกต พฤติกรรรม) โดยผู้ร่วมรับผิดชอบรายวิชา
2. การทวนสอบผลสมั ฤทธิ์ในหน่วยการเรียนที่ได้เรียนผ่านไปแล้ว โดยผู้เรียนและนักศึกษา ร่วมกันทวนสอบผลสมั ฤทธิ์ที่เกิดขนึ้
3. มีการตั ้งคณะกรรมการในสาขา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของผู้เรียน
1. ปรับปรุงเนื ้อหาและกิจกรรมการจัดการเรียนการสอนในทุกๆภาคเรียนที่มีการจัดการเรียน การสอน หรือตามข้อเสนอแนะจากผลการทวนสอบตามมาตรฐานผลสมั ฤทธิ์ในข้อที่ 4
2. ปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชาตามข้อสรุปผลการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน