ออกแบบสถาปัตยกรรม 2

Architectural Design 2

 
   จัดทำโครงการออกแบบ โดยกำหนดองค์ประกอบโครงการ ขนาดพื้นที่สำรวจและวิเคราะห์ ที่ตั้ง กำหนดแนวความคิด ทำการออกแบบสถาปัตยกรรมที่คำนึงถึงระบบโครงสร้างอาคาร งานระบบอาคารขนาดเล็กและข้อกำหนด อาคารที่เกี่ยวข้อง โดยนำรูปแบบสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นมาประยุกต์ใช้
เพื่อให้การศึกษาที่ทันสมัยกับยุคสมัยที่เปลี่ยนไปกับเทคโนโลยีโลกปัจจุบัน
ศึกษาและฝึกปฏิบัติการออกแบบ อาคารที่พักอาศัย ขนาดใหญ่ ที่พักอาศัยที่มีประโยชน์ใช้สอยประเภทอื่นร่วม จัดทำโครงการออกแบบ โดยกำหนดองค์ประกอบโครงการ ขนาดพื้นที่สำรวจและวิเคราะห์ ที่ตั้ง กำหนดแนวความคิด ทำการออกแบบสถาปัตยกรรมที่คำนึงถึงระบบโครงสร้างอาคาร งานระบบอาคารขนาดเล็กและข้อกำหนด อาคารที่เกี่ยวข้อง โดยนำรูปแบบสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นมาประยุกต์ใช้
- อาจารย์ประจำวิชา แจ้งการวัดผลประเมินผล
- ให้คำปรึกษา 4 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.1.1  มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.1.2  มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา  และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.2.1 ให้ความสำคัญและสร้างสำนึกด้าน  จรรยาบรรณชีพสถาปัตยกรรม
กำหนดแจ้งหลักเกณฑ์การเข้าเรียน การส่งงานการรับผิดชอบ ต่อตัวเองและผู้อื่น
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2   มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3   ประเมินผลจากความรับผิดชอบในปฏิบัติงานเขียนแบบ ภายในห้องเรียน
2.1.1 ความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
บรรยาย  การนำเสนอรายงาน มอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ ปฏิบัติการเขียนแบบ และส่งเสริมการประกวดแบบ
2.3.1    สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2   ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล  รายงาน
2.3.3   ประเมินผลจากผลงานการเขียนแบบ และการประกวดแบบ
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ สามารถสร้างงานเขียนแบบ  โดยนำหลักการต่างๆ มาประยุกต์ใช้ในงานได้  ตามคุณสมบัติหลักสูตรดังนี้
3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิขาการหรือวิชาชีพ
3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1   ฝึกปฏิบัติการออกแบบระสั้น และงานออกแบบโครงการ
3.2.2   ฝึกให้ประเมินทางเลือกข้อมูลและรูปแบบงานออกแบบโครงการออกแบบ
3.3.1   วัดผลจากการประเมินผลงานออกแบบสถาปัตยกรรม
3.3.2   กำหนดเกณฑ์การให้คะแนนจากการตรวจแบบร่าง
ขอคำปรึกษา วิเคราะห์ข้อมูลสำหรับการออกแบบและสร้างทางเลือก เพื่อนำไปสู่งานออกแบบสถาปัตยกรรม
4.1.1   มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.2   สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1   มอบงานกลุ่มให้ร่วมกันศึกษาค้นคว้าร่วมกัน
4.3.1 ประเมินพฤติกรรมการทำงาน การนำเสนอผลงาน และผลสำเร็จของงาน
     5.1.1   สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2.1   มอบหมายงาน
5.2.2   นำเสนองานรูปแบบที่เหมาะสม
5.2.3   ส่งเสริมการประกวดแบบ
5.3.1 พิจารณาผลงานคุณภาพที่นำเสนอในการใช้สือนำเสนอผลงานต่างๆ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมและจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 42011202 ออกแบบสถาปัตยกรรม 2
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม การอ้างอิงที่มาข้อมูล การเข้าเรียน ส่งงานตามกำหนด ตระหนักความรับผิดชอบวิชาชีพ 1-17 10%
2 ความรู้ สอบทฤษฏี 9 10%
3 ความรู้ งานที่มอบหมาย 1-17 5%
4 ทักษะทางปัญญา สอบปฏิบัติ ผลงานออกแบบ 9,17 40%
5 ทักษะทางปัญญา งานออกแบบระยะสั้น งานประกวดแบบ 1,11 20%
6 ทักษะทางปัญญาความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบและเทคโนโลยีสารสนเทศ PIN UP กระบวนการออกแบบ Design Process 8 15%
 


1. หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอนหลัก 
    เอกสารและหนังสือประกอบการเรียน
1.อรศิริ   ปาณินท์ 2538  กระบวนการออกแบบทางสถาปัตยกรรม ปทุมธานี:สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยรังสิต
2.อรศิริ   ปาณินท์ 2538  มนุษย์กับการสร้างสรรค์สถาปัตยกรรม กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยรังสิต
3.อรศิริ   ปาณินท์ 2538  ที่ว่างทางสถาปัตยกรรม กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยรังสิต
4.ผุสดี  ทิพทัส 2540  เกณฑ์การออกแบบทางสถาปัตยกรรม กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
5.บัณฑิต  จุลาสัย  2544  จุด เส้น ระนาบ  กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
        6.เลอสม  สถาปิตานนท์  2544  บ้านและการออกแบบ  กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
        7. ศักดา  ประสานไทย 2549  วัสดุและการออกแบบ  กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
           การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่สาขาฯ ได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
           ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
           หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
                3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
                3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
          ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
           4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
           4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
     จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
      5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
    5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์
        5.3  ปรับกลยุทธ์การสอน เพิ่มการศึกษาดูงาน และส่งเสริมการประกวดแบบ