กลศาสตร์วิศวกรรมด้านสถิตยศาสตร์

Engineering Mechanics Statics

Force systems; resultant; equilibrium; friction; principle of virtual work, and stability
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เตรียมความพร้อมด้านปัญญาในการนำความรู้ ความเข้าใจ ในกลศาสตร์ทางวิศวกรรม เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่นๆที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้มีการปรับปรุงเนื้อหาและตัวอย่างอ้างอิงให้สอดคล้องกับสถานการณ์และเทคโนโลยีปัจจุบัน
Force systems; resultant; equilibrium; friction; principle of virtual work, and stability.
1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
(1) เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทยตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรมเสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
(2) มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
(5) มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
(1) สอดแทรก คุณธรรม จริยธรรม ความซื่อสัตย์ต่อตนเอง และสังคม
(2) แนะนำและยกตัวอย่าง, บอกระเบียบการเข้าชั้นเรียน
(5) ปลูกฝังจรรณยาบรรณวิชาชีพ
(1) ประเมินผลจากการเสวนา โดยสังเกตพฤติกรรมการแสดงออกด้านเจตคติ
(2) ผลการเข้าชั้นเรียน, การส่งงานที่มอบหมายตามเวลา
(5) ประเมินผลจากการเสวนา
(1) มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐาน และเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี
(2) มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ ในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม
(3) สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ใน
(4) สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม เช่น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นต้น
(1) สอน อธิบาย ยกตัวอย่าง, การวิเคราะห์กรณีศึกษา
(2) สอน อธิบาย ยกตัวอย่าง
(3) อธิบายความเชื่อมโยงของความรู้ในวิชาที่ศึกษากับ
(4) สอนโดยเน้นหลักทางทฤษฏีและการประยุกต์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิดองค์ความรู้
(1) งานที่มอบหมาย และ/หรือ การสอบย่อย และ/หรือ สอบกลางภาค และ/หรือ สอบปลายภาค
(2) งานที่มอบหมาย และ/หรือ การสอบย่อย และ/หรือ สอบกลางภาค และ/หรือ สอบปลายภาค
(3) ประเมินผลจากการเสวนา
(4) ประเมินจากผลงานที่มอบหมาย
(1) มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี
(2) สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และ สรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
(3) สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(5) สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ
 
(1) แนะนำในห้องเรียน
(2) สอน อธิบาย ยกตัวอย่าง
(3) สอน อธิบาย ยกตัวอย่าง
(5) สอน อธิบาย ยกตัวอย่าง, แนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูลและแหล่งข้อมูล
(1) สังเกตพฤติกรรมนักศึกษา, ประเมินผลจากการเสวนา
(2) งานที่มอบหมาย และ/หรือ การสอบย่อย และ/หรือ สอบกลางภาค และ/หรือ สอบปลายภาค
(3) สังเกตพฤติกรรมนักศึกษา ประเมินจากการเสวนา
(5) ประเมินจากการเสวนา
 
(3) สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
(5) มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม
(3) มอบหมายงานที่ส่งเสริมการคิด วิเคราะห์
(5) แนะนำในห้องเรียน, สอดแทรกในการเรียนการสอน
(3) ประเมินจากผลงานที่มอบหมาย
(5) สังเกตพฤติกรรมนักศึกษา ประเมินจากการเสวนา
(3) สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
(4) มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์
(5) สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้
(3) แนะนำในห้องเรียน แนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูลและแหล่งข้อมูล (elearning.rmutl.ac.th)
(4) อธิบาย แนะนำในห้องเรียน
(5) ฝึกทักษะ ตามหัวข้อทางวิชาการให้นักศึกษาได้ปฏิบัติ
 
(3) จำนวนนักศึกษาที่เข้ามาสืบค้นข้อมูลในwebsite
(4) สังเกตพฤติกรรมนักศึกษา
(5) สังเกตพฤติกรรมนักศึกษา
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2
1 ENGCV100 กลศาสตร์วิศวกรรมด้านสถิตยศาสตร์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1 - 2.4 3.3 – 3..4 4.4 5.1, 5.2, 5.5 6.2 (1) สอบกลางภาค (2) สอบย่อย (3) สอบปลายภาค 9, 12, 18 (1) 30% (2) 30% (3) 30%
2 2.1 - 2.4 3.3 – 3.4 4.4 5.1, 5.2, 5.5 6.2 การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 5%
3 1.1,1.2 1.3 – 1.5 3.1, 3.2,3.5 4.1 – 4.3 4.5, 5.3, 5.4 6.1 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 5%
R. C. Hibbeler (2010). Engineering Mechanics
PowerPoint ประกอบการสอน
J. L. Meriam (-).Engineering Mechanics
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2 ผลการเรียนของนักศึกษา
1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ