การป้องกันระบบไฟฟ้ากำลัง

Power System Protection

1.1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพื้นฐานของการป้องกันระบบไฟฟ้ากำลัง
1.2 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหม้อแปลงเครื่องมือวัดและทรานส์ดิวเซอร์
1.3 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอุปกรณ์ป้องกันและระบบการป้องกัน
1.4 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันกระแสเกินและฟอลต์ลงดิน
1.5 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันแบบผลต่างและการป้องกันสายส่งโดยใช้รีเลย์วัดระยะทาง
1.6 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันสายส่งโดยใช้ไพล๊อตรีเลย์
1.7 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันมอเตอร์และการป้องกันหม้อแปลงไฟฟ้า
1.8 การป้องกันเครื่องกำเนิดไฟฟ้าและการป้องกันเขตบัส
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการป้องกันระบบไฟฟ้ากำลัง อุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ในการป้องกันแต่ละส่วนและวิธีการป้องกันระบบไฟฟ้ากำลังในแต่ละส่วน
ศึกษาเกี่ยวกับพื้นฐานของการป้องกันระบบไฟฟ้ากำลัง หม้อแปลงเครื่องมือวัดและทรานส์ดิวเซอร์ อุปกรณ์ป้องกันและระบบป้องกันการป้องกันกระแสเกินและฟอล์ตลงดิน การป้องกันแบบผลต่าง การป้องกันสายส่งโดยใช้รีเลย์วัดระยะทาง การป้องกันสายส่งโดยใช้ไพล๊อตรีเลย์ การป้องกันมอเตอร์ การป้องกันหม้อแปลงไฟฟ้า การป้องกันเครื่องกำเนิดไฟฟ้า การป้องกันเขตบัส
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ ประมาณ 1 ชั่วโมงต่อ สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม และจริยธรรม
1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.1.3 มีวินัย ขขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.1.4เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
1.2.1 แนะนำในห้องเรียน
1.2.2 อธิบายความหมายข้อดี ข้อเสีย 
1.2.3 แนะนำและยกตัวอย่าง อธิบายระเบียบการเข้าชั้นเรียน
1.2.4 แนะนำและอธิบายในชั้นเรียน มีสัมมาคารวะให้ความเคารพแก่ ครู อาจารย์ พ่อ แม่ ผู้อาวุโสที่เป็นเครือญาต และรุ่นพี
 

1.3.1 สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษา
1.3.2 เช็ครายชื่อนักศึกษาที่เข้าชั้นเรียน ตรวจงานที่มอบหมายให้นักศึกษา เน้นให้ส่งตรงตามเวลา
2.1.1 มีความรู้ความเข้าในด้านทฤษฎีและสามารถนำไปปฎิบัติได้
 

2.2.1 สอนและอธิบายตามรายละเอียดในคำอธิบายรายวิชา
          - ใช้สื่อการสอนเพื่อให้นักศึกษาเข้าใจได้ดี เช่น ใช้รูปภาพ แผ่นใส ของจริง เป็นต้น
 2.3.1  สังเกตพฤติกรรมนักศึกษา
2.3.2  ให้คะแนนใบงาน สอบข้อเขียนและปฏิบัติ ทั้งกลางภาค และ ปลายภาค
2.3.3  ประเมินจากการวิเคราะห์กรณีศึกษา
2.3.4  ประเมินจากแบบฝึกหัดของนักศึกษา
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ
มอบหมายโครงงานให้นักศึกษาทำ
ตรวจสอบโครงงานของนักศึกษา
 

4.1.1 มีมนุษย์สัมพันธ์ และมารยาทสัมคมที่ดี
4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำ และผู้ตามอย่างมีประสิทธิภาพและสามารถทำงานเป็นกลุ่มได้
4.2.1 แนะนำในห้องเรียน
4.2.2 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคลกำหนดความรับผิดชอบของนักศึกษาแต่ละคนในการทำงานกลุ่มอย่างชัดเจน
4.3.1 สังเกตพฤติกรรมนักศึกษา
 
4.3.2 ตรวจสอบงานที่ทำและสังเกตพฤติกรรมการทำงานของนักศึกษา
 

5.1.1 ทักษะการคิดคำนวณเชิงตัวเลข
5.1.2 ทักษะในการค้นหาข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.2.1 มอบหมายให้นักศึกษาคิดคำนวณเชิงตัวเลขโดยใช้เครื่องคำนวณตัวเลขที่สอดคล้องกับยุคสมัย
5.2 .2 มอบหมายงานให้นักศึกษาค้นหาข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.3.1 ตรวจสอบงานคิดคำนวณเชิงตัวเลขที่ได้มอบหมายให้นักศึกษาปฏิบัติ
5.3.2 ตรวจสอบงานที่ได้ให้นักศึกษาหาข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
6.1.1 ความสามารถในการปฏิบัติงานได้อย่างคล่องแคล่วชำนิชำนาญ
6.2.1 มอบหมายให้นักศึกษาทำงานตามที่ได้รับมอบหมาย
6.3.1 ตรวจสอบงานความถูกต้อง
6.3.2 ส่งงานตามระยะเวลาที่กำหนด
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา (1) เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต (2) มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม (3) มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ (4) สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กร สังคมและสิ่งแวดล้อม (5) มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน (1) มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐาน และเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี (2) มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม (3) สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง (4) สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม (5) สามารถใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาของตนในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้ (1) มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี (2) สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และ สรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ (3) สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบรวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ (4) มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสมในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์ (5) สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ (1) สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลาย และสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาชีพมาสื่อสารต่อสังคมได้ในประเด็นที่เหมาะสม (2) สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม รวมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่างๆ (3) สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง (4) รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพรวมถึงสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ (5) มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม (1) มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี (2) มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์ (3) สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสม และมีประสิทธิภาพ (4) มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์ (5) สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้ (1) มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ (2) มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
1 32082414 การป้องกันระบบไฟฟ้ากำลัง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1-1.4 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอแนวคิด 1-16 10%
2 2.1,3.1 ตรวจแบบฝึกหัดและโครงงานที่มอบหมายให้นักศึกษา 1-16 20%
3 4.2,5.2 การทำงานกลุ่มและผลงาน ตลอดภาคการศึกษา 10%
4 2.1 สอบกลางภาคเรียน สอบปลายภาคเรียน 9, 16 30%, 30%
1.  ธนบูรณ์ ศศิภานุเดช, 2540, การป้องกันระบบไฟฟ้ากำลัง, กรุงเทพฯ, ซีเอ็ดยูเคชั่น.
2.  ประสิทธิ พิทยพัฒน์, 2548, การป้องกันระบบไฟฟ้า, กรุงเทพฯ, ทีซีจี พริ้นติ้ง.
3.เอกสารประอบการเรียนการป้องกันระบบไฟฟ้ากำลัง (ผศ.พิชัย  เพ่งพันธุ์พัฒน์  อ.สาคร  ปันตา )
 
           ไม่มี
หนังสือและเว็บไซต์ที่เกี่ยวกับหัวข้อในรายวิชา
           1.1   การสังเกตการณ์สอน
           1.2   การสัมมนาเพื่อพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอน
        2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา
        2.2 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
            3.1  สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
            3.2  ปรับปรุงเนื้อหาให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีใหม่ๆ
            4.1 ตรวจสอบการให้คะแนนนักศึกษาและงานที่ได้รับมอบหมาย
            4.2 การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา
         5.1 จัดประชุมสัมมนาเพื่อการปรับปรุงหลักสูตร
         5.2 เชิญผู้ทรงคุณวุฒิอ่านหลักสูตรและให้ข้อเสนอแนะ