เศรษฐศาสตร์บริหารขั้นสูง

Advanced Managerial Economic

สามารถนำแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์มาใช้ในการตัดสินใจทางธุรกิจ แนวคิด และการประยุกต์ใช้ทฤษฎีอุปสงค์ การวิเคราะห์ทฤษฎีการผลิตและต้นทุน การวางแผนกำไร การกำหนดราคาในตลาดประเภทต่างๆ งบประมาณเงินทุน และการระดมทุนเพื่อสนับสนุนธุรกิจ และสามารถวิเคราะห์ผลกระทบต่อธุรกิจจากการเปลี่ยนแปลงของนโยบายของรัฐ จากกรณีศึกษาที่เกิดขึ้นจริง
เพื่อให้ผู้ศึกษาได้มีความรู้ความเข้าใจแนวคิดทางด้านเศรษฐศาสตร์ เพื่อสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ตามวัตถุประสงค์ของรายวิชา และสามารถปรับตัวต่อผลการเปลี่ยนแปลงนโยบายของรัฐ และภาวะการณ์ทางเศรษฐกิจโลก
การนำแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์มาใช้ในการตัดสินใจทางธุรกิจ แนวคิด และการประยุกต์ใช้ทฤษฎีอุปสงค์ การวิเคราะห์ทฤษฎีการผลิตและต้นทุน การวางแผนกำไร การกำหนดราคาในตลาดประเภทต่างๆ งบประมาณเงินทุน และการระดมทุนเพื่อสนับสนุนธุรกิจ การวิเคราะห์ผลกระทบต่อธุรกิจจากการเปลี่ยนแปลงของนโยบายของรัฐ กรณีศึกษา
อย่างน้อย 3 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ โดยการพบตามนัดหมาย หรือการติดต่อผ่านระบบสังคมออนไลน์ต่างๆ หรือ ณ ห้อง 1-402 ตึกบริหารธุรกิจ 1
สอนการดำเนินธุรกิจที่มีคุณธรรมและจริยธรรม ตามหลักของเศรษฐศาสตร์คือ การจัดการทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดให้เกิดประสิทธิภาพและประโยชน์สูงสุดให้กับสังคม ผ่านการสอนจะเน้นย้ำแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ที่ไม่ได้ต้องการประโยชน์กับผู้ใด ผู้หนึ่ง แต่ต้องให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับสังคม โดยวัดผลจาการนำเสนอการวิเคราะห์โครงการว่าถูกต้องตามหลักเศรษฐศาสตร์ที่คำนึงถึงสังคมโดยรวมหรือไม่
สามารถมีความรู้ ความเข้าใจตามจุดมุ่งหมายของวิชา ผ่านการวัดผลทางการบรรยายในชั้นเรียน และการวัดผลจากการนำเสนอผลหน้าชั้นเรียน และการเสนอความคิดเห็นในห้องเรียน
1) พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
2) การศึกษา/ค้นคว้าข้อมูลเพื่อจัดทำและนำเสนอรายงานตามที่ได้รับมอบหมาย
3) มีการนำเสนองานที่ได้รับมอบหมายหน้าชั้นเรียน
4) การประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษาตามที่กำหนดหัวข้อ/เรื่องให้
5) การวัดผลจากการสอบกลางภาคเรียนและสอบปลายภาคเรียน รวมทั้งประเมินผลจากรายงานที่ส่งฯ
1. เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์มาใช้ในการตัดสินใจทางธุรกิจ
2. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจความหมายทฤษฎีอุปสงค์
3. เพื่อให้นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ทฤษฎีการผลิตและต้นทุน การวางแผนกำไร การกำหนดราคาในตลาดประเภทต่างๆ
4. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และเข้าใจในการระดมทุนเพื่อสนับสนุนธุรกิจ
5. เพื่อให้นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ผลกระทบต่อธุรกิจจากการเปลี่ยนแปลงของนโยบายของรัฐ จากกรณีศึกษาที่เกิดขึ้นจริง
- การบรรยาย การอภิปราย การศึกษากรณีศึกษาทำงานและนำเสนองานกลุ่มหน้าชั้นเรียน โดยการจำลองธุรกิจ และทำการวิเคราะห์แนวทางด้านเศรษฐศาสตร์ และใช้กรณีศึกษา โดยเน้นให้ผู้เรียนทุกคนมีส่วนร่วมในการอภิปรายในการหาข้อสรุป
1. การวัดผลจากการสังเกต การทดสอบสอบปลายภาค โดยเน้นการวัดผลจากการเข้าใจเป็นหลัก
2. การนำเสนอจากผลการวิเคราะห์และการสรุปเป็นรายงานจากกรณีศึกษา
3. การวัดความรู้ความเข้าใจจากคุณภาพของผลงานและทำเสร็จตรงเวลาที่กำหนด
4. จากการทำกิจกรรมงานกลุ่ม การนำเสนอผล และการอภิปรายผลการศึกษา
สามารถวิเคราะห์ผลกระทบต่อธุรกิจจากการเปลี่ยนแปลงของนโยบายของรัฐ โดยใช้ กรณีศึกษา
การจัดทำการวิเคราะห์ผลกระทบต่อธุรกิจจากการเปลี่ยนแปลงของนโยบายของรัฐ โดยใช้ กรณีศึกษา ตามหลักเศรษฐศาสตร์
ผลการวิเคราะห์ผลกระทบต่อธุรกิจจากการเปลี่ยนแปลงของนโยบายของรัฐ โดยใช้ กรณีศึกษา ตามหลักเศรษฐศาสตร์ที่ได้นำเสนอหน้าชั้นเรียน และรูปเล่มรายงาน
การให้จัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบต่อธุรกิจจากการเปลี่ยนแปลงของนโยบายของรัฐ โดยใช้ กรณีศึกษา ตามหลักเศรษฐศาสตร์
การจัดทำรายงานกลุ่มการวิเคราะห์ผลกระทบต่อธุรกิจจากการเปลี่ยนแปลงของนโยบายของรัฐ โดยใช้ กรณีศึกษา ตามหลักเศรษฐศาสตร์
การนำเสนอหน้าชั้นเรียน และการจัดทำรูปแบบรายงาน
การต้องค้นหาข้อมูลเพื่อจัดทำการวิเคราะห์ผลกระทบต่อธุรกิจจากการเปลี่ยนแปลงของนโยบายของรัฐ โดยใช้ กรณีศึกษา ตามหลักเศรษฐศาสตร์ จากข้อมูลในเว็บไซด์ต่างๆ และการใช้โปรแกรม Excel เพื่อคิดคำนวณการวิเคราะห์โครงการ
สอนการสืบค้นข้อมูลในเว็บไซด์ต่างๆ ที่สำคัญ และสอนการใช้โปรแกรม Excel
สามารถสืบค้นข้อมูลบนเว็บไซด์ที่เกี่ยวข้อง และสามารถใช้โปรแกรม Excel เพื่อประมวลผล
การเข้าชั้นเรียนและการมีส่วนร่วม
มีการให้นำเสนอข้อมูลข่าวสารทางเศรษฐกิจและธุรกิจ
การมีส่วนร่วมในการตอบคำถามและการนำเสนอข่าวสาร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
วลัย ชวลิตธำรง สุพพตา ปิยะเกศิน และสังวร ปัญญาดิลก. (2003). เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ. คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พรทิพย์ เธียรธีรวิทย์. (2559). เศรษฐศาสตร์ในชีวิตประจำวัน. คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
หนังสือพิมพ์ทางด้านธุรกิจ เช่น ประชาชาติธุรกิจ ฐานเศรษฐกิจ โพสทูเดย์
เว็บไซด์ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารพาณิชย์ต่างๆ สถาบันทางการเงินที่สำคัญ
หนังสือพิมพ์ทางด้านธุรกิจ เช่น ประชาชาติธุรกิจ ฐานเศรษฐกิจ โพสทูเดย์
เว็บไซด์ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารพาณิชย์ต่างๆ สถาบันทางการเงินที่สำคัญ
ดูจากการตอบคำถามในห้องเรียน การซักถาม การนำเสนองานผ่านรายงานหน้าชั้นเรียน การรวัดผลจากการสอบ
ผลคะแนนนักศึกษา และการประเมินของนักศึกษา
ดูจากความสนใจ การมีส่วนร่วมของนักศึกษา ความสนใจในเนื้อหา บทเรียน
การสอบ และผลการวิเคราะห์รายงานกลุ่ม และการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
พยายามชักจูงให้นักศึกษาให้ความสนใจมากขึ้น โดยนำตัวอย่างที่น่าสนใจปัจจุบัน มาเป็นกรณีศึกษา