ปัญหาพิเศษทางการประมง
Special Problems in Fisheries
1.เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการทำการศึกษาค้นคว้าข้อมูลด้วยกระบวนการวิจัย การทำงานที่มีหลักการและเหตุผล และพัฒนาบุคลิกภาพของความเป็นผู้นำทั้งด้านการตัดสินใจ การสังเกตและการคิดวิเคราะห์
2. เพื่อสามารถค้นหาข้อเท็จจริงสำหรับการแก้ไขปัญหาด้านการประมง และเรียบเรียงเป็นรายงานนำเสนอต่อคณะกรรมการในที่ประชุม
2. เพื่อสามารถค้นหาข้อเท็จจริงสำหรับการแก้ไขปัญหาด้านการประมง และเรียบเรียงเป็นรายงานนำเสนอต่อคณะกรรมการในที่ประชุม
เพื่อให้นักศึกษาสามารถค้นคว้า รวบรวมข้อมูลในหัวข้อที่น่าสนใจด้านการประมง มาเขียนเป็นโครงการและนำไปปฏิบัติงานทดลองเชิงวิจัยได้อย่างเหมาะสม
ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการค้นคว้า วิจัยในหัวข้อที่กำลังเป็นที่น่าสนใจด้านการประมง และเรียบเรียงเป็นรายงานนำเสนอต่อคณะที่ประชุม ภายใต้การควบคุมของอาจารย์ที่ปรึกษา
วัน พุธ เวลา 15.00 - 16.30 น. ห้อง พักครูสาขาวิชาประมง โทร 081-9829578
e-mail; supaphon63@hotmail.co.th, Line, Facebook เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน
e-mail; supaphon63@hotmail.co.th, Line, Facebook เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน
1.2
- บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการเรียน การทำงาน และการนำเอาความรู้ที่ได้จากวิชาปัญหาพิเศษไปใช้ในชีวิตจริง
- ประเมินพฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
- มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
- ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
- มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
- ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
2.1
- บรรยายเกี่ยวกับความหมายและความสำคัญของการศึกษาในสาขาวิชาประมง
- มอบหมายงานให้มีการค้นคว้าบทความ ความรู้ใหม่ๆ หรือข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับงานที่จะศึกษา
- มอบหมายงานให้มีการค้นคว้าบทความ ความรู้ใหม่ๆ หรือข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับงานที่จะศึกษา
- ประเมินผลจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล ความสนใจและซักถามระหว่างการบรรยาย
- ประเมินพฤติกรรมการเข้าเรียนและส่งงานตามกำหนดเวลา
- ประเมินพฤติกรรมการเข้าเรียนและส่งงานตามกำหนดเวลา
3.1, 3.2
- ฝึกตอบปัญหาในชั้นเรียนและการแสดงความคิดเห็นต่อปัญหา โดยแบ่งกลุ่มนักศึกษาให้มีการระดมสมองในการแก้ไขปัญหา และวิจารณ์ร่วมกันระหว่างอาจารย์และนักศึกษา
- ประเมินจากการตอบปัญหาในชั้นเรียน
- การนำเสนอผลงานทั้งแบบรายบุคคลและกลุ่ม
- การนำเสนอผลงานทั้งแบบรายบุคคลและกลุ่ม
4.1
- มอบหมายงานทั้งงานรายบุคคลและงานกลุ่ม
- อธิบายข้อปฏิบัติในการเข้าชั้นเรียน
- แบ่งกลุ่มนักศึกษาในภาคปฏิบัติ กำหนดหัวหน้ากลุ่มหมุนเวียนภายในกลุ่ม
- อธิบายข้อปฏิบัติในการเข้าชั้นเรียน
- แบ่งกลุ่มนักศึกษาในภาคปฏิบัติ กำหนดหัวหน้ากลุ่มหมุนเวียนภายในกลุ่ม
- ประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานที่ได้รับมอบหมายทำงานเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด และคุณภาพของงานเป็นไปตามที่กำหนด
-ตรวจสอบความสม่ำเสมอในการเข้าชั้นเรียนของนักศึกษา การแต่งกายที่เหมาะสม และการทำความสะอาดหลังการปฏิบัติ
- สังเกตและให้นักศึกษาประเมินการทำงานของสมาชิกในกลุ่ม รวมทั้งนักศึกษาอื่น ๆ ในรายวิชาทั้งด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและด้านความรับผิดชอบ
-ตรวจสอบความสม่ำเสมอในการเข้าชั้นเรียนของนักศึกษา การแต่งกายที่เหมาะสม และการทำความสะอาดหลังการปฏิบัติ
- สังเกตและให้นักศึกษาประเมินการทำงานของสมาชิกในกลุ่ม รวมทั้งนักศึกษาอื่น ๆ ในรายวิชาทั้งด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและด้านความรับผิดชอบ
5.2
- มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองทั้งจากอินเตอร์เน็ต, หนังสือในห้องสมุด และแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูลและแหล่งข้อมูลที่เหมาะสม
- การสอนโดยมีการนำเสนอข้อมูลจากการค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต เพื่อเป็นตัวอย่างกระตุ้นให้นักศึกษาเห็นประโยชน์จากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอและสืบค้นข้อมูล
- ทำรายงานโดยเน้นแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
- นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม เช่น การใช้ Power point ที่เข้าใจ
- การสอนโดยมีการนำเสนอข้อมูลจากการค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต เพื่อเป็นตัวอย่างกระตุ้นให้นักศึกษาเห็นประโยชน์จากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอและสืบค้นข้อมูล
- ทำรายงานโดยเน้นแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
- นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม เช่น การใช้ Power point ที่เข้าใจ
- ทักษะการใช้ภาษาเขียนจากเอกสารรายงานและการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
- ทักษะการใช้สื่อและการใช้ภาษาพูดจากการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน
- รูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสมและความต่อเนื่องของเนื้อหาที่นำเสนอเข้าใจง่าย
- ทักษะการใช้สื่อและการใช้ภาษาพูดจากการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน
- รูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสมและความต่อเนื่องของเนื้อหาที่นำเสนอเข้าใจง่าย
- อธิบายวิธีการปฏิบัติ และลำดับขั้นตอนการปฏิบัติ
- ประเมินความสำเร็จของงานตามระยะเวลาที่กำหนดอย่างเหมาะสม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1.คุณธรรมจริยธรรม | 2.ความรู้ | 3.ทักษะทางปัญญา | 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ | 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ | 6.ด้านทักษะ พิสัย | ||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 1 | 2 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 1 | 2 | 1 |
1 | BSCAG315 | ปัญหาพิเศษทางการประมง |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 1.1 | การประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม และความรับผิดชอบ | ตลอดภาคการศึกษา | 10 % |
2 | 1.1, 2.1, 3.1, 4.1 | กระบวนการวิจัย | 1-15 | 15% |
3 | 1.1, 2.1.,3.1, 4.1,5.1 | การนำเสนอโครงร่างและปัญหาพิเศษ | 7, 16 | 30% |
4 | 1.1, 4.1.,5.1 | รายงานปัญหาพิเศษ | 17 | 45% |
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 2538. คู่มือวิทยานิพนธ์สายวิทยาศาสตร์. ห้าง
หุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล สหประชาพาณิย์, กรุงเทพฯ. 71 น.
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง. 2550. คู่มือปัญหาพิเศษ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.
2550). 78 น.
หุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล สหประชาพาณิย์, กรุงเทพฯ. 71 น.
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง. 2550. คู่มือปัญหาพิเศษ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.
2550). 78 น.
บทความ/รายงานวิจัย/รายงานผลการทดลองด้านการประมงจากเว็บไซต์ต่างๆ ตามความเหมาะสมของเหตุการณ์และความเป็นปัจจุบัน
ให้นักศึกษาประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับและเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา ด้วยแบบประเมินผู้สอน และการอภิปรายระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
2.1 การสังเกตพฤติกรรม การตอบสนอง การมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานรายวิชาทุกภาคการศึกษา เฉพาะในรายวิชาที่มีปัญหาให้มีการทำวิจัยในชั้นเรียน
มีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
มีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยการตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
คณะมีระบบการทบทวนประสิทธิผลรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของสาขา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผล ของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้าสาขาวิชาเพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงหลักสูตรทุก 5 ปี