ปฏิบัติงานอบชุบโลหะสำหรับครูช่างอุตสาหกรรม

Heat Treatment of Metal Pratices for Industrial Professional

              เพื่อให้นักศึกษาสามารถปฏิบัติการสำหรับการเตรียมเป็นครูช่างอุตสาหกรรม เกี่ยวกับความปลอดภัยในการอบชุบโลหะ หลักการอบชุบโลหะ การอบชุบเหล็กกล้าคาร์บอน การอบชุบเหล็กกล้าผสม การอบชุบเหล็กหล่อ การอบชุบโลหะนอกกลุ่มเหล็ก เทคนิคต่างๆในการอบชุบโลหะ และจัดทำชุดการสอนในงานอบชุบโลหะ
เพื่อให้สอดคล้องกับความก้าวหน้าของเทคโนโลยีการอบชุบโลหะ   
ปฏิบัติการสำหรับการเตรียมเป็นครูช่างอุตสาหกรรม เกี่ยวกับความปลอดภัยในการอบชุบโลหะ หลักการอบชุบโลหะ การอบชุบเหล็กกล้าคาร์บอน การอบชุบเหล็กกล้าผสม การอบชุบเหล็กหล่อ การอบชุบโลหะนอกกลุ่มเหล็ก เทคนิคต่างๆในการอบชุบโลหะ และจัดทำชุดการสอนในงานอบชุบโลหะ
 -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
คุณธรรม จริยธรรม ที่ต้องพัฒนา

              1.1.1 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ
                        ขององค์กรและสังคม
              1.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้ง
                       ตามลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพใน
                        คุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
              1.1.3 สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิชาชีพครูช่างอุตสาหกรรมต่อ
                       บุคคล องค์กรสังคมและสิ่งแวดล้อม
              1.1.4 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ
                       รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพครูช่างอุตสาหกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่อดีต
                       จนถึงปัจจุบัน
บรรยายพร้อมสาธิตปฏิบัติการอบชุบโลหะ สอนให้นักศึกษาเป็นผู้มีความรับผิดชอบและตรงเวลาจากการมอบหมายงาน การส่งงาน การเข้าชั้นเรียน การรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น  สอดแทรกความซื่อสัตย์ต่อตนเอง และสังคม  ความมีจรรยาบรรณทางวิชาชีพของครูช่างอุตสาหกรรม
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2   พฤติกรรมระหว่างเรียน การตอบคำถาม  การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในชั้นเรียน
ความรู้เกี่ยวกับการอบชุบโลหะชนิดต่างๆ
บรรยาย สาธิต และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอเป็นกลุ่ม โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1  ทดสอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2  ประเมินจากการปฏิบัติตามใบงาน 
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา
3.1.1  พัฒนาความสามารถในการคิด วิเคราะห์อย่างเป็นระบบ
3.1.2  สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตและทันต่อการเปลี่ยนแปลงของความรู้และเทคโนโลยี
3.2 วิธีการสอน
3.2.1   การมอบให้นักศึกษาทำรายงานกลุ่มและการนำเสนอผลงาน
3.2.2   อภิปรายกลุ่ม
3.3.1   สอบปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์หลักการอบชุบโลหะ
3.3.2   วัดผลจากการทำรายงานกลุ่มและการนำเสนอผลงาน
             4.1.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลาย และสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและ
                      ภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาชีพมาสื่อสารต่อ
                      สังคมได้ในประเด็นที่เหมาะสม
             4.1.2 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และสอดคล้องกับ
                      ทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
             4.1.3 รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคล
                      และงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมี
       ประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
             4.2.1 ใช้วิธีการสอนแบบเปิดโอกาสในการแสดงความคิดเห็น   
                          เพื่อฝึกการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่นด้วยเหตุผล
             4.2.2 ส่งเสริมการเคารพสิทธิและการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
 สังเกตพฤติกรรมการทำงาน ความรับผิดชอบในการทำงานและความตรงต่อเวลาในการส่งงาน
6.1 ทักษะพิสัย ที่ต้องพัฒนา
6.1.1  พัฒนาทักษะในด้านการบริหารจัดการเวลา การใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ อย่างถูกต้อง มีวินัยและประสิทธิภาพ
6.1.2  พัฒนาทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม แบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและมีความร่วมมือกันอย่างดี
6.2 วิธีการสอน
6.2.1  มอบหมายงานเป็นกลุ่ม โดยกำหนดเวลาส่ง และระเบียบการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์
6.3 วิธีการประเมินผล
            6.3.1  พฤติกรรมการเข้าเรียน การใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ ทดสอบการใช้เครื่องมือ
            6.3.2  ใบรายงานการปฏิบัติงาน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้ กิจกรรมที่ ผลการ เรียนรู้ วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของ การประเมินผล 1 ทดสอบปลายภาค (นัดสอบนอกเวลาเรียน) 16 25% 3 การทำงานกลุ่มและนำเสนอผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 65% 4 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10% 2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้ กิจกรรมที่ ผลการ เรียนรู้ วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของ การประเมินผล 1 ทดสอบปลายภาค (นัดสอบนอกเวลาเรียน) 16 25% 3 การทำงานกลุ่มและนำเสนอผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 65% 4 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10% 2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้ กิจกรรมที่ ผลการ เรียนรู้ วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของ การประเมินผล 1 ทดสอบปลายภาค (นัดสอบนอกเวลาเรียน) 16 25% 3 การทำงานกลุ่มและนำเสนอผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 65% 2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้ กิจกรรมที่ ผลการ เรียนรู้ วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของ การประเมินผล 1 ทดสอบปลายภาค (นัดสอบนอกเวลาเรียน) 16 25% 3 การทำงานกลุ่มและนำเสนอผลง
1. หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอนหลัก 
         1.1 มานพ  ตันตระบัณฑิตย์. วัสดุวิศวกรรม. สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น), กรุงเทพฯ :
               บริษัท ส.เอเซียเพรส(1989) จำกัด, 2536
         1.2 ชาญวุฒิ  ตั้งจิตวิทยา  และสาโรช ฐิติเกียรติพงศ์. วัสดุในงานวิศวกรรม. กรุงเทพฯ :
               บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด, 2521
         1.3 มานพ  ตัณตระบัณฑิตย์. งานทดสอบวัสดุอุตสาหกรรม. สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-
               ญี่ปุ่น), 2531
         1.4 มนัส  สถิรจินดา. วิศวกรรมการอบชุบเหล็ก. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์  
               มหาวิทยาลัย, 2538.  
         1.5 ณรงค์ศักด์  ธรรมโชติ. วัสดุวิศวกรรม. กรุงเทพฯ : บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด, 2551
         1.6 Callister, Jr. W.D. Materials Science and Engineering: An Introduction. 6th Edition.
               John Wiley & Sons, New York, USA., 2003
         1.7 George, Krauss. Steels Heat Treatment and Processing Principles. 3rd. U.S.A. : ASM
                            International, 1994.
1. หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอนหลัก 
         1.1 มานพ  ตันตระบัณฑิตย์. วัสดุวิศวกรรม. สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น), กรุงเทพฯ :
               บริษัท ส.เอเซียเพรส(1989) จำกัด, 2536
         1.2 ชาญวุฒิ  ตั้งจิตวิทยา  และสาโรช ฐิติเกียรติพงศ์. วัสดุในงานวิศวกรรม. กรุงเทพฯ :
               บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด, 2521
         1.3 มานพ  ตัณตระบัณฑิตย์. งานทดสอบวัสดุอุตสาหกรรม. สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-
               ญี่ปุ่น), 2531
         1.4 มนัส  สถิรจินดา. วิศวกรรมการอบชุบเหล็ก. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์  
               มหาวิทยาลัย, 2538.  
         1.5 ณรงค์ศักด์  ธรรมโชติ. วัสดุวิศวกรรม. กรุงเทพฯ : บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด, 2551
         1.6 Callister, Jr. W.D. Materials Science and Engineering: An Introduction. 6th Edition.
               John Wiley & Sons, New York, USA., 2003
         1.7 George, Krauss. Steels Heat Treatment and Processing Principles. 3rd. U.S.A. : ASM
                            International, 1994.
2. เอกสาร และข้อมูลแนะนำ
         เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
            1.1  การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
            1.2  แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
            1.3  ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
            2.1  ผลการเรียนของนักศึกษา
            2.2  การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อที่ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอนด้วยการพัฒนาสื่อการสอน
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ด้วยการปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อที่ 4.