ปฏิบัติงานอบชุบโลหะสำหรับครูช่างอุตสาหกรรม

Heat Treatment of Metal Practices for Industrial Professional

              เพื่อให้นักศึกษาสามารถปฏิบัติการสำหรับการเตรียมเป็นครูช่างอุตสาหกรรม เกี่ยวกับความปลอดภัยในการอบชุบโลหะ หลักการอบชุบโลหะ การอบชุบเหล็กกล้าคาร์บอน การอบชุบเหล็กกล้าผสม การอบชุบเหล็กหล่อ การอบชุบโลหะนอกกลุ่มเหล็ก เทคนิคต่างๆในการอบชุบโลหะ และจัดทำชุดการสอนในงานอบชุบโลหะ
เพื่อให้สอดคล้องกับความก้าวหน้าของเทคโนโลยีการอบชุบโลหะ
ปฏิบัติการสำหรับการเตรียมเป็นครูช่างอุตสาหกรรม เกี่ยวกับความปลอดภัยในการอบชุบโลหะ หลักการอบชุบโลหะ การอบชุบเหล็กกล้าคาร์บอน การอบชุบเหล็กกล้าผสม การอบชุบเหล็กหล่อ การอบชุบโลหะนอกกลุ่มเหล็ก เทคนิคต่างๆในการอบชุบโลหะ และจัดทำชุดการสอนในงานอบชุบโลหะ  
 -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้ กิจกรรมที่ ผลการ เรียนรู้ วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของ การประเมินผล 1 ทดสอบปลายภาค (นัดสอบนอกเวลาเรียน) 16 25% 3 การทำงานกลุ่มและนำเสนอผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 65% 4 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10% 2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้ กิจกรรมที่ ผลการ เรียนรู้ วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของ การประเมินผล 1 ทดสอบปลายภาค (นัดสอบนอกเวลาเรียน) 16 25% 3 การทำงานกลุ่มและนำเสนอผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 65% 4 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10% 2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้ กิจกรรมที่ ผลการ เรียนรู้ วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของ การประเมินผล 1 ทดสอบปลายภาค (นัดสอบนอกเวลาเรียน) 16 25% 3 การทำงานกลุ่มและนำเสนอผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 65% 2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้ กิจกรรมที่ ผลการ เรียนรู้ วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของ การประเมินผล 1 ทดสอบปลายภาค (นัดสอบนอกเวลาเรียน) 16 25% 3 การทำงานกลุ่มและนำเสนอผลง
1. หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอนหลัก 
         1.1 มานพ  ตันตระบัณฑิตย์. วัสดุวิศวกรรม. สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น), กรุงเทพฯ :
               บริษัท ส.เอเซียเพรส(1989) จำกัด, 2536
         1.2 ชาญวุฒิ  ตั้งจิตวิทยา  และสาโรช ฐิติเกียรติพงศ์. วัสดุในงานวิศวกรรม. กรุงเทพฯ :
               บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด, 2521
         1.3 มานพ  ตัณตระบัณฑิตย์. งานทดสอบวัสดุอุตสาหกรรม. สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-
               ญี่ปุ่น), 2531
         1.4 มนัส  สถิรจินดา. วิศวกรรมการอบชุบเหล็ก. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์  
               มหาวิทยาลัย, 2538.  
         1.5 ณรงค์ศักด์  ธรรมโชติ. วัสดุวิศวกรรม. กรุงเทพฯ : บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด, 2551
         1.6 Callister, Jr. W.D. Materials Science and Engineering: An Introduction. 6th Edition.
               John Wiley & Sons, New York, USA., 2003
         1.7 George, Krauss. Steels Heat Treatment and Processing Principles. 3rd. U.S.A. : ASM
                            International, 1994.
1. หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอนหลัก 
         1.1 มานพ  ตันตระบัณฑิตย์. วัสดุวิศวกรรม. สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น), กรุงเทพฯ :
               บริษัท ส.เอเซียเพรส(1989) จำกัด, 2536
         1.2 ชาญวุฒิ  ตั้งจิตวิทยา  และสาโรช ฐิติเกียรติพงศ์. วัสดุในงานวิศวกรรม. กรุงเทพฯ :
               บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด, 2521
         1.3 มานพ  ตัณตระบัณฑิตย์. งานทดสอบวัสดุอุตสาหกรรม. สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-
               ญี่ปุ่น), 2531
         1.4 มนัส  สถิรจินดา. วิศวกรรมการอบชุบเหล็ก. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์  
               มหาวิทยาลัย, 2538.  
         1.5 ณรงค์ศักด์  ธรรมโชติ. วัสดุวิศวกรรม. กรุงเทพฯ : บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด, 2551
         1.6 Callister, Jr. W.D. Materials Science and Engineering: An Introduction. 6th Edition.
               John Wiley & Sons, New York, USA., 2003
         1.7 George, Krauss. Steels Heat Treatment and Processing Principles. 3rd. U.S.A. : ASM
                            International, 1994.
         เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
            1.1  การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
            1.2  แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
            1.3  ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
            2.1  ผลการเรียนของนักศึกษา
            2.2  การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อที่ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอนด้วยการพัฒนาสื่อการสอน
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ด้วยการปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อที่ 4.