การฝึกงานงานเชื่อมและโลหะแผ่น

Welding and Sheet Metal Practice

กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้ กิจกรรมที่ ผลการ เรียนรู้ วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของ การประเมินผล 1 - การปฏิบัติงานตามใบงานที่กำหนด 1-16 70% 2 - การปฏิบัติงานตามที่มอบหมาย - งานกลุ่ม ตลอดภาคการศึกษา 20% 3 - การเข้าร่วมฝึกปฏิบัติงานเชื่อมและโลหะแผ่น ตลอดภาคการศึกษา 10% 2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้ กิจกรรมที่ ผลการ เรียนรู้ วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของ การประเมินผล 1 - การปฏิบัติงานตามใบงานที่กำหนด 1-16 70% 2 - การปฏิบัติงานตามที่มอบหมาย - งานกลุ่ม ตลอดภาคการศึกษา 20% 3 - การเข้าร่วมฝึกปฏิบัติงานเชื่อมและโลหะแผ่น ตลอดภาคการศึกษา 10% 2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้ กิจกรรมที่ ผลการ เรียนรู้ วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของ การประเมินผล 1 - การปฏิบัติงานตามใบงานที่กำหนด 1-16 70% 2 - การปฏิบัติงานตามที่มอบหมาย - งานกลุ่ม ตลอดภาคการศึกษา 20% 3 - การเข 2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้ กิจกรรมที่ ผลการ เรียนรู้ วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของ การประเมินผล 1 - การปฏิบัติงานตามใบงานที่กำหนด 1-16 70% 2 - การปฏิบัติงานตามที่ม
หมวดที่  6 
ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
 


1.  หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอนหลัก 
 
1.  เกษมชัย  บุญเพ็ญ.  พื้นฐานโลหะแผ่น.  กรุงเทพฯ:  โรงพิมพ์ประกอบเมไตร:  พิมพ์ครั้งที่  7,  2533.
2.  ชิเกะอากิ  ยามาโมโต้.  วิศวกรรมการเชื่อม.  กรุงเทพฯ:  บริษัท  ไทย-โกเมเวลดิ้ง  จำกัด,  ม.ป.ป.
3.  นริศ  ศรีเมฆ  และพิชัย  โอภาสอนันต์.  งานเชื่อมและโลหะแผ่นเบื้องต้น.  กรุงเทพฯ:  บริษัท  สำนักพิมพ์เอมพันธ์  จำกัด,  2547.
4.  ประสงค์  ท้วมยิ้ม.  หลักการเชื่อมประสาน.  กรุงเทพฯ:  สมาคมส่งเสริมไทย-ญี่ปุ่น,  2522.
5.  วิทยา  ทองขาว.  งานเชื่อมไฟฟ้า.  กรุงเทพฯ:  บริษัท  ซีเอ็ดยูเคชั่น  จำกัด,  โรงพิมพ์  เอช.  เอ็น  กรุ๊ป จำกัด,  2538.
6.  สมปอง  มากแจ้ง.  ความปลอดภัยในโรงงาน.  กรุงเทพฯ:  โรงพิมพ์สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระเหนือ,  2524.
7.  สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม.  ศัพท์บัญญัติผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมการเชื่อม. กรุงเทพฯ:  2539.
8.  สุชาติ  กิจพิทักษ์.  งานโลหะแผ่นกระเบื้องต้น.  กรุงเทพฯ:  โรงพิมพ์เม็ดทรายพริ้นติ้ง,  2540.
9.  อดิศักดิ์  วรรณวัลย์  และคณะ.  พื้นฐานการเชื่อมก๊าซ.  กรุงเทพฯ:  สำนักพิมพ์ประกอบเมไตร,  พิมพ์
ครั้งที่  3,  2527.
10.  เอียร์เวล  เอส  ฮูฟแมน.  หน่วยงานในโลหะแผ่น.  กรุงเทพฯ:  ประเสริฐการพิมพ์,  พิมพ์ครั้งที่  2,  
2.  เอกสาร และข้อมูลสำคัญ
ไม่มี  
3.  เอกสาร และข้อมูลแนะนำ
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อต่างๆ  ในแผนการสอนของแต่ละสัปดาห์
 
หมวดที่  6 
ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
 


1.  หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอนหลัก 
 
1.  เกษมชัย  บุญเพ็ญ.  พื้นฐานโลหะแผ่น.  กรุงเทพฯ:  โรงพิมพ์ประกอบเมไตร:  พิมพ์ครั้งที่  7,  2533.
2.  ชิเกะอากิ  ยามาโมโต้.  วิศวกรรมการเชื่อม.  กรุงเทพฯ:  บริษัท  ไทย-โกเมเวลดิ้ง  จำกัด,  ม.ป.ป.
3.  นริศ  ศรีเมฆ  และพิชัย  โอภาสอนันต์.  งานเชื่อมและโลหะแผ่นเบื้องต้น.  กรุงเทพฯ:  บริษัท  สำนักพิมพ์เอมพันธ์  จำกัด,  2547.
4.  ประสงค์  ท้วมยิ้ม.  หลักการเชื่อมประสาน.  กรุงเทพฯ:  สมาคมส่งเสริมไทย-ญี่ปุ่น,  2522.
5.  วิทยา  ทองขาว.  งานเชื่อมไฟฟ้า.  กรุงเทพฯ:  บริษัท  ซีเอ็ดยูเคชั่น  จำกัด,  โรงพิมพ์  เอช.  เอ็น  กรุ๊ป จำกัด,  2538.
6.  สมปอง  มากแจ้ง.  ความปลอดภัยในโรงงาน.  กรุงเทพฯ:  โรงพิมพ์สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระเหนือ,  2524.
7.  สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม.  ศัพท์บัญญัติผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมการเชื่อม. กรุงเทพฯ:  2539.
8.  สุชาติ  กิจพิทักษ์.  งานโลหะแผ่นกระเบื้องต้น.  กรุงเทพฯ:  โรงพิมพ์เม็ดทรายพริ้นติ้ง,  2540.
9.  อดิศักดิ์  วรรณวัลย์  และคณะ.  พื้นฐานการเชื่อมก๊าซ.  กรุงเทพฯ:  สำนักพิมพ์ประกอบเมไตร,  พิมพ์
ครั้งที่  3,  2527.
10.  เอียร์เวล  เอส  ฮูฟแมน.  หน่วยงานในโลหะแผ่น.  กรุงเทพฯ:  ประเสริฐการพิมพ์,  พิมพ์ครั้งที่  2,  
2.  เอกสาร และข้อมูลสำคัญ
ไม่มี  
3.  เอกสาร และข้อมูลแนะนำ
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อต่างๆ  ในแผนการสอนของแต่ละสัปดาห์
 
หมวดที่  6 
ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
 


1.  หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอนหลัก 
 
1.  เกษมชัย  บุญเพ็ญ.  พื้นฐานโลหะแผ่น.  กรุงเทพฯ:  โรงพิมพ์ประกอบเมไตร:  พิมพ์ครั้งที่  7,  2533.
2.  ชิเกะอากิ  ยามาโมโต้.  วิศวกรรมการเชื่อม.  กรุงเทพฯ:  บริษัท  ไทย-โกเมเวลดิ้ง  จำกัด,  ม.ป.ป.
3.  นริศ  ศรีเมฆ  และพิชัย  โอภาสอนันต์.  งานเชื่อมและโลหะแผ่นเบื้องต้น.  กรุงเทพฯ:  บริษัท  สำนักพิมพ์เอมพันธ์  จำกัด,  2547.
4.  ประสงค์  ท้วมยิ้ม.  หลักการเชื่อมประสาน.  กรุงเทพฯ:  สมาคมส่งเสริมไทย-ญี่ปุ่น,  2522.
5.  วิทยา  ทองขาว.  งานเชื่อมไฟฟ้า.  กรุงเทพฯ:  บริษัท  ซีเอ็ดยูเคชั่น  จำกัด,  โรงพิมพ์  เอช.  เอ็น  กรุ๊ป จำกัด,  2538.
6.  สมปอง  มากแจ้ง.  ความปลอดภัยในโรงงาน.  กรุงเทพฯ:  โรงพิมพ์สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระเหนือ,  2524.
7.  สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม.  ศัพท์บัญญัติผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมการเชื่อม. กรุงเทพฯ:  2539.
8.  สุชาติ  กิจพิทักษ์.  งานโลหะแผ่นกระเบื้องต้น.  กรุงเทพฯ:  โรงพิมพ์เม็ดทรายพริ้นติ้ง,  2540.
9.  อดิศักดิ์  วรรณวัลย์  และคณะ.  พื้นฐานการเชื่อมก๊าซ.  กรุงเทพฯ:  สำนักพิมพ์ประกอบเมไตร,  พิมพ์
ครั้งที่  3,  2527.
10.  เอียร์เวล  เอส  ฮูฟแมน.  หน่วยงานในโลหะแผ่น.  กรุงเทพฯ:  ประเสริฐการพิมพ์,  พิมพ์ครั้งที่  2,  
2.  เอกสาร และข้อมูลสำคัญ
ไม่มี  
3.  เอกสาร และข้อมูลแนะนำ
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อต่างๆ  ในแผนการสอนของแต่ละสัปดาห์
 
หมวดที่  7
 การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของรายวิชา
 


1.  กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน  แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา  ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
  2.  กลยุทธ์การประเมินการสอน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนมีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1  การสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในขณะปฏิบัติงาน
2.2  ผลการปฏิบัติงานของนักศึกษาตามใบงานที่กำหนด
2.3  การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
  3.  การปรับปรุงการสอน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2  จึงมีการปรับปรุงการสอน  โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง  และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1  สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2  การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
  4.  การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
ในระหว่างกระบวนการเรียนการสอนรายวิชา  มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ  ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในรายวิชา  ได้จาก  การสอบถามนักศึกษา หรือการสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการปฏิบัติงานตามใบงาน  และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2  มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบใบงาน  รายงาน  วิธีการให้คะแนน  และการให้คะแนนพฤติกรรม
  5.  การดำเนินการทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1  ศึกษาหลักสูตรการฝึกอบรมฝีมือแรงงาน  ของกรมพัฒนาฝีมือแรงงานที่เกี่ยวข้องกับระดับช่างฝีมือ
5.2  ปรับปรุงใบงานในรายวิชาทุก  3  ปี  หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ  4
5.3  เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน  เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานโรงานอุตสาหกรรมต่างๆ


 
 
หมวดที่  7
 การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของรายวิชา
 


1.  กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน  แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา  ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
  2.  กลยุทธ์การประเมินการสอน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนมีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1  การสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในขณะปฏิบัติงาน
2.2  ผลการปฏิบัติงานของนักศึกษาตามใบงานที่กำหนด
2.3  การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
  3.  การปรับปรุงการสอน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2  จึงมีการปรับปรุงการสอน  โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง  และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1  สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2  การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
  4.  การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
ในระหว่างกระบวนการเรียนการสอนรายวิชา  มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ  ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในรายวิชา  ได้จาก  การสอบถามนักศึกษา หรือการสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการปฏิบัติงานตามใบงาน  และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2  มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบใบงาน  รายงาน  วิธีการให้คะแนน  และการให้คะแนนพฤติกรรม
  5.  การดำเนินการทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1  ศึกษาหลักสูตรการฝึกอบรมฝีมือแรงงาน  ของกรมพัฒนาฝีมือแรงงานที่เกี่ยวข้องกับระดับช่างฝีมือ
5.2  ปรับปรุงใบงานในรายวิชาทุก  3  ปี  หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ  4
5.3  เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน  เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานโรงานอุตสาหกรรมต่างๆ


 
 
หมวดที่  7
 การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของรายวิชา
 


1.  กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน  แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา  ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
  2.  กลยุทธ์การประเมินการสอน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนมีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1  การสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในขณะปฏิบัติงาน
2.2  ผลการปฏิบัติงานของนักศึกษาตามใบงานที่กำหนด
2.3  การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
  3.  การปรับปรุงการสอน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2  จึงมีการปรับปรุงการสอน  โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง  และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1  สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2  การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
  4.  การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
ในระหว่างกระบวนการเรียนการสอนรายวิชา  มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ  ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในรายวิชา  ได้จาก  การสอบถามนักศึกษา หรือการสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการปฏิบัติงานตามใบงาน  และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2  มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบใบงาน  รายงาน  วิธีการให้คะแนน  และการให้คะแนนพฤติกรรม
  5.  การดำเนินการทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1  ศึกษาหลักสูตรการฝึกอบรมฝีมือแรงงาน  ของกรมพัฒนาฝีมือแรงงานที่เกี่ยวข้องกับระดับช่างฝีมือ
5.2  ปรับปรุงใบงานในรายวิชาทุก  3  ปี  หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ  4
5.3  เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน  เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานโรงานอุตสาหกรรมต่างๆ


 
 
หมวดที่  7
 การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของรายวิชา
 


1.  กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน  แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา  ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
  2.  กลยุทธ์การประเมินการสอน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนมีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1  การสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในขณะปฏิบัติงาน
2.2  ผลการปฏิบัติงานของนักศึกษาตามใบงานที่กำหนด
2.3  การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
  3.  การปรับปรุงการสอน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2  จึงมีการปรับปรุงการสอน  โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง  และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1  สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2  การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
  4.  การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
ในระหว่างกระบวนการเรียนการสอนรายวิชา  มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ  ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในรายวิชา  ได้จาก  การสอบถามนักศึกษา หรือการสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการปฏิบัติงานตามใบงาน  และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2  มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบใบงาน  รายงาน  วิธีการให้คะแนน  และการให้คะแนนพฤติกรรม
  5.  การดำเนินการทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1  ศึกษาหลักสูตรการฝึกอบรมฝีมือแรงงาน  ของกรมพัฒนาฝีมือแรงงานที่เกี่ยวข้องกับระดับช่างฝีมือ
5.2  ปรับปรุงใบงานในรายวิชาทุก  3  ปี  หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ  4
5.3  เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน  เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานโรงานอุตสาหกรรมต่างๆ


 
 
หมวดที่  7
 การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของรายวิชา
 


1.  กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน  แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา  ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
  2.  กลยุทธ์การประเมินการสอน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนมีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1  การสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในขณะปฏิบัติงาน
2.2  ผลการปฏิบัติงานของนักศึกษาตามใบงานที่กำหนด
2.3  การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
  3.  การปรับปรุงการสอน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2  จึงมีการปรับปรุงการสอน  โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง  และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1  สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2  การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
  4.  การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
ในระหว่างกระบวนการเรียนการสอนรายวิชา  มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ  ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในรายวิชา  ได้จาก  การสอบถามนักศึกษา หรือการสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการปฏิบัติงานตามใบงาน  และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2  มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบใบงาน  รายงาน  วิธีการให้คะแนน  และการให้คะแนนพฤติกรรม
  5.  การดำเนินการทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1  ศึกษาหลักสูตรการฝึกอบรมฝีมือแรงงาน  ของกรมพัฒนาฝีมือแรงงานที่เกี่ยวข้องกับระดับช่างฝีมือ
5.2  ปรับปรุงใบงานในรายวิชาทุก  3  ปี  หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ  4
5.3  เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน  เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานโรงานอุตสาหกรรมต่างๆ