หลักสถิติเพื่องานธุรกิจอาหารและโภชนาการ

Statistics for Food Business and Nutrition

1.รู้ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสถิติ
2.เข้าใจสถิติเชิงพรรณนา
3.เข้าใจสถิติเชิงอนุมาน
4.สามารถใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาค้นคว้าการจัดการข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลได้
5.สามารถใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูลทางสถิติได้
6.ประยุกต์ใช้ในวิชาชีพและชีวิตประจำวัน
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน  และสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้กับงานวิจัยทางด้านคหกรรมศาสตร์ 
          ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสถิติเชิงพรรณนา  ความหน้าจะเป็น ตัวแปรสุ่ม การแจกแตงตัวแปรสุ่ม การสุ่มตัวอย่าง กระประมานค่าและการทดสอบสมมติฐานของค่าพารามิเตอร์กลุ่มเดี่ยวและสองกลุ่ม การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูลทางสถิติ
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ) โดยการติดประกาศไว้ที่บอร์ดหน้าห้องพักอาจารย์ และสอนเสริม
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยมีคุณธรรมจริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้

มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม

- เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างการคำนวณในแต่ละวิธีในเนื้อหาที่เรียน พร้อมทั้งในสูตรในการคำนวณ แบ่งกลุ่มทำแบบฝึกหัดท้ายชั่วโมง ซักถามข้อสงสัย

- มอบหมายให้ทำแบบฝึกหัดส่งตามกำหนด
พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา การเลือกใช้วิธีการในการแก้ปัญหาโจทย์ได้ถูกต้อง

- ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
- มีความรู้และเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
            2.2.1   บรรยาย
             2.2.2  สาธิตการใช้อุปกรณ์ และสื่อการสอน
             2.2.3   นำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาช่วยสอนหรือประกอบบทเรียน
ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบข้อเขียน

- วิเคราะห์ และแก้ปัญหาโจทย์โดยพิจารณาจากการซักถามในห้องเรียน
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีระบบและมีทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ สามารถนำความรู้ในเนื้อหาที่ เรียนมาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
3.2.1   การมอบหมายงานโดยการไปศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม เป็นกลุ่มแล้วทำรายงานส่ง
            3.2.2    ยกตัวอย่างในเนื้อหารายวิชาให้แสดงการคิด แก้ปัญหาอย่างมีระบบ
 3.2.3   การมอบหมายงาน โดยให้ทำแบบฝึกหัดเพื่อทบทวน
3.3.1   ทดสอบย่อย
  3.3.2   สอบกลางภาคและปลายภาค 
  3.3.3   จากการตรวจชิ้นงานที่ครูได้มอบหมายให้ทั้งรายบุคคลและรายกลุ่ม
  3.3.4   จากการสังเกตการทำงานของนักศึกษาว่าทำเป็นระบบหรือไม่อย่างไร
4.1.1   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามที่มอบหมาย
4.1.2   พัฒนาทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยการไปศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
          4.2.1   มอบหมายงานเป็นรายกลุ่ม และรายบุคคล แล้วให้นำเสนอเป็นรายงาน
          4.2.2   ให้แต่ละกลุ่มไปศึกษาค้นคว้าเนื้อหาเพิ่มเติม และนำเสนอเป็นรายงาน
4.3.1   สังเกตพฤติกรรมการทำงานเป็นกลุ่ม
4.3.2   สังเกตจากการตรวจงานที่มอบหมาย
5.1.1   ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
5.1.2   พัฒนาทักษะในการสืบค้น  ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.3   พัฒนาทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบเครื่องมือ และเทคโนโลยีสมัยใหม่
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมด้วยตนเอง จากเว็บไซต์หรือสื่อการสอนอื่นๆ
5.2.2   นำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เทคโนโลยีสมัยใหม่
5.3.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ 6.ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2
1 BSCFN104 หลักสถิติเพื่องานธุรกิจอาหารและโภชนาการ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3, 2.3, 3.3 สอบกลางภาค 9 25%
2 1.3, 2.3, 3.3 สอบย่อย จบบทเรียนแต่ละบท 30%
3 1.3, 2.3, 3.3 สอบปลายภาค 17 25%
4 1.3, 2.3, 3.3 การส่งงานตามที่มอบหมาย รายบุคคล จิตพิสัย ตลอดภาคการศึกษา 20%
เนรัญชรา  เกตุมี.สถิติพื้นฐาน.เอกสารประกอบการสอน คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 2559
กัลยา  วานิชย์บัญชา. หลักสถิติ กทม. โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2539 ณรงค์  โพธิ์พฤกษานันท์.ระเบียบวิธีวิจัย.ซีเอ็ดพลับบริชชิ่ง.2556
งานวิจัยเรื่องต่างๆ   จากเวบไซต์ต่างๆ  และอื่นๆ ตามความเหมาะสมของเหตุการณ์และความเป็นปัจจุบัน
การถาม ตอบระหว่างผู้สอนและผู้เรียน การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน

- แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
แบ่งกลุ่มทำแบบฝึกหัดท้ายชั่วโมง
การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมการสอน

- ผลการสอบ
การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
- แก้ไขข้อบกพร่อง จากแบบประเมินที่นักศึกษาประเมินผู้สอน
- การทำวิจัยในชั้นเรียน
- การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา
ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
- ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือ ตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ