เคมีประยุกต์

Applied Chemistry

1.1 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
    1.2 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาเกี่ยวกับโครงสร้างอะตอมและ ตารางธาตุ  พันธะเคมี  สารประกอบและสารละลาย  ไฟฟ้าเคมี  สารประกอบไฮโดรคาร์บอน  พลาสติก  ยาง น้ำและการปรับสภาพน้ำ
    1.3 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
    1.4 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
    1.5 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
เพื่อให้มีเนื้อหาครบถ้วน ทันสมัย เข้าใจและทันเหตุการณ์กับเทคโนโลยีที่ก้าวหน้า   นักศึกษานำความรู้และทักษะไปใช้ในการดำเนินชีวิต มีคุณธรรม และสามารถดำรงชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข
 
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับโครงสร้างอะตอมและ ตารางธาตุ  พันธะเคมี  สารประกอบและสารละลาย  ไฟฟ้าเคมี  สารประกอบไฮโดรคาร์บอน  พลาสติก  ยาง น้ำและการปรับสภาพน้ำ
จัดให้นักศึกษาพบอาจารย์เพื่อขอคำปรึกษาและแนะนำสัปดาห์ละ 1 คาบ โดยอาจารย์จะแจ้งวัน
เวลานัดหมายให้นักศึกษาทราบ หรือสามารถสอบถามผ่านกลุ่ม line เคมีประยกต์
- การสร้างความมีวินัย ตรงต่อเวลา   ความซื่อสัตย์ และความรับผิดชอบในการทำงาน
 
 - สอนสอดแทรกเรื่องคุณธรรม  จริยธรรม   ปลูกฝังสิ่งที่ดีงามให้แก่นักศึกษา 
- กำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆ เช่น ให้เข้าห้องเรียนตรงเวลาและเข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอ
- ให้มีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมาย และมีความซื่อสัตย์ในการสอบ
ตรวจเช็ดการเข้าเรียนตรงเวลา   การส่งงานที่มอบหมาย 
การปฏิบัติตามกฏกติกาที่กำหนด
ไม่มีการทุจริตในการสอบ
1. เข้าใจโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
2. เข้าใจเกี่ยวกับพันธะเคมี  สารประกอบ  และสารละลาย
          3. เข้าใจเกี่ยวกับไฟฟ้าเคมี  
          4. เข้าใจเกี่ยวกับสารประกอบไฮโดรคาร์บอน  พลาสติก  ยาง  น้ำ และการปรับสภาพน้ำ
5. มีความรู้และทักษะการปฏิบัติงานการทดลอง
สอนแบบบรรยายประกอบการใช้สื่อ เทคโนโลยีประกอบการสอน    
เอกสารประกอบการสอนตามหน่วยเรียน      ยกตัวอย่างประกอบในขณะที่สอนเนื้อหา
การบรรยาย ยกตัวอย่างกรณีศึกษา การคิด วิเคราะห์ ถาม-ตอบ ในชั้นเรียน
การฝึกปฏิบัติงานการทดลอง  การบันทึกผล  การวิเคราะห์ผลการทดลอง  การสรุปรายงานผล
การค้นคว้าเพิ่มเติมในงานมอบหมาย  ตลอดจนนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
ทดสอบโดยใช้แบบทดสอบรายหน่วย สอบกลางภาค ปลายภาค  และการประเมินผลจากรายงานที่ได้รับมอบหมาย
ประเมินจากการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน การตอบโจทย์ปัญหา
การสังเกต และการตรวจปฏิบัติงานการทดลอง  การบันทึกผล  การวิเคราะห์ผลการทดลอง  การสรุปรายงานผล
การตรวจผลงงานที่ได้รับมอบหมาย  การนำเสนอผลงาน
1.มีความรู้และทักษะปฏิบัติเกี่ยวกับโครงสร้างอะตอมและ ตารางธาตุ  พันธะเคมี  สารประกอบและสารละลาย  ไฟฟ้าเคมี  สารประกอบไฮโดรคาร์บอน  พลาสติก  ยาง น้ำและการปรับสภาพน้ำ นำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
2.การแก้ปัญหาปฏิบัติงานการทดลอง  การบันทึกผล  การวิเคราะห์ผลการทดลอง  การสรุปรายงานผล
- ฝึกให้วิเคราะห์ปัญหาจากโจทย์แบบฝึกหัด  และให้ค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งข้อมูลต่างๆ
-ปฏิบัติงานการทดลอง  การบันทึกผล  การวิเคราะห์ผลการทดลอง  การสรุปและอภิปรายผลการทดลอง
ทดสอบโดยข้อเขียน และสังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการอภิปรายปัญหาในชั้นเรียน
สังเกตจากการฝีกทักษะปฏิบัติการทดลอง   การบันทึกผล  การวิเคราะห์ผลการทดลอง  การสรุปและอภิปรายผลการทดลอง  รายงานผลการทดลอง
มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
มอบหมายงานกลุ่ม และรายบุคคล   การแบ่งกลุ่มปฏิบัติการทดลอง
 การนำเสนอรายงานและอภิปรายกลุ่ม
- ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ
  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม  มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี  ความร่วมมือกันทำงานกลุ่ม
สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
มีการอธิบายเชิงทฤษฎีแล้วแสดงวิธีคำนวณที่สอดคล้องกับทฤษฎีเหล่านั้น
-มีการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์และเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการสืบค้นกรณีศึกษาหรืองานที่ได้รับมอบหมาย
- การนำเสนอรายงานผลงานที่มอบหมาย โดยใช้รูปแบบ  เครื่องมือ  และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
จากการนำเสนอรายงานผลงานที่มอบหมาย โดยใช้รูปแบบ  เครื่องมือ  และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral) ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge) ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills) ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility) ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1. มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 1.มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 2.มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ 1.มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 1.สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 2.สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม 3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 13020112 เคมีประยุกต์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม ตรวจเช็ดการเข้าเรียนตรงเวลา การส่งงานที่มอบหมาย การปฏิบัติตามกฏกติกาที่กำหนด ไม่มีการทุจริตในการสอบ ตลอดภาคการศึกษา 10
2 ทักษะความรู้ มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา ทดสอบโดยใช้แบบทดสอบรายหน่วย สอบกลางภาค ปลายภาค และการประเมินผลจากรายงานที่ได้รับมอบหมาย ประเมินจากการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน การตอบโจทย์ปัญหา สังเกตการณ์ปฏิบัติการทดลอง การบันทึก รายงานผลการทดลอง การทดสอบรายหน่วย การสอบกลางภาค การสอบปลายภาค 3,8,12,17 50
3 . มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ การตอบคำถามในชั้นเรียน แบบทดสอบ การแก้ปัญหา การวิเคราะห์ผลการทดลอง การแปรค่า สรุปรายงาน ผลการทดลอง ตลอดภาคการศึกษา 20
4 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม ความร่วมมือของกลุ่มในการทดลอง การนำเสนองานกลุ่ม การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 10
5 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม จากการใช้เทคโนโลยีสืบค้นข้อมูล การนำเสนองาน โดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม การร่วมกันอภิปราย ตลอดภาคการศึกษา 10
1. กิตติมา    ฉัตรวงศ์วาน. 2547.  ปฏิบัติการเคมีทั่วไป 1.  ภาควิชาเคมี   คณะวิทยาศาสตร์  
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,  กรุงเทพฯ
      2. นงเยาว์   มาลัยทอง. 2548. คู่มือปฏิบัติการเคมี. ภาควิชาเคมี  คณะวิทยาศาสตร์
                     มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.
      3. ประเสริฐ  ศรีไพโรจน์. 2544. เทดนิคทางเคมี.  พิมพ์ครั้งที่ 5.  ประกายพรึก.  กรุงเทพฯ.
      4. ประสงค์   เหลี่ยมโสภณ. 2554 . ปฏิบัติการเคมีประยุกต์. สาขาวิทยาศาสตร์   คณะวิทยาศาสตร์และ
                      เทคโนโลยีการเกษตร  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน.
      5.พิชิต เลี่ยมพิพัฒน์. 2543. การชุบทอง พิมพ์ครั้งที่ 8. โรงพิมพ์ หจก.มิตรเจริญการพิมพ์, กรุงเทพฯ
      6.ดำรง คงสวัสดิ์. 2539. เคมีประยุกต์. สำนักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ, กรุงเทพฯ.
1. ทบวงมหาวิทยาลัย เคมี เล่ม 1-2, สำนักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์, กรุงเทพฯ 2540
2. ชัยวัฒน์ เจนวาณิชย์ หลักเคมี เล่ม 1-2, สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, กรุงเทพฯ 2541
3. กฤษณา ชุติมา หลักเคมีทั่วไป เล่ม 1, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ 2539.
4.กฤษณา ชุติมา หลักเคมีทั่วไป เล่ม 2. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ 2539.
5.ประเสริฐ ศรีไพโรจน์ เคมีพื้นฐานเล่ม 1, สุพีเรียพริ้นติ้งเฮาส์, กรุงเทพฯ 2545.
 
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน

แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การประชุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นของผู้ร่วมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอน  มีการปรับปรุงการสอน โดยการหารือกับอาจารย์ในแผนกเคมีปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการเรียนการสอนมีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา เช่น การสอบถามนักศึกษา การตรวจผลงานของนักศึกษา หรือผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวม
การทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอน     การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา  อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนา กับอาจารย์ประจำแผนกวิชาเคมี เพื่อให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงใช้ในการสอนครั้งต่อไป