การปฏิบัติประสบการณ์วิชาชีพครู 2

Professional Experience 2

1.  รู้และเข้าใจเกี่ยวกับการเตรียมตัวเพื่อออกไปปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาจริง 2. รู้และเข้าใจเกี่ยวกับการบูรณาการการสอนทั้งทฤษฎีและปฏิบัติการวางแผนการสอน 3.  รู้และเข้าใจวิธีการเลือกยุทธวิธีการสอนการเลือกใช้และผลิตวัสดุช่วยสอนตลอดจนเทคนิค การแก้ไขปัญหาขณะทำการสอนและตรวจงาน 4.  รู้และเข้าใจเกี่ยวกับการวัดและประเมินผลและนำผลมาพัฒนาการจัดการเรียนรู้ตลอดจน การบันทึกและการรายงานผลการจัดการเรียนรู้ 5. รู้และเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตนอย่างมีคุณธรรมจริยธรรมของความเป็นครูฝึกสอนกับผู้เรียนและปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับของสถานฝึกสอน 6. เห็นความสำคัญของวิชาการปฏิบัติประสบการณ์วิชาชีพครู 2
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการออกไปปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาจริง โดยนำเอากระบวนการที่ได้รับการฝึกปฏิบัติในขณะเป็นนักศึกษาไปใช้ในการปฏิบัติจริง ในรูปแบบของการบูรณาการการสอน ตลอดจนการเรียนรู้ทางด้านการปฏิบัติตนตามระเบียบข้อบังคับของสถานศึกษา การทำงานร่วมกับผู้อื่น การแก้ไขปัญหาด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง
ปฏิบัติการสอนเพื่อรับประสบการณ์วิชาชีพครูโดยฝึกทักษะและความสามารถในรูปแบบของการบูรณาการการสอนทั้งทฤษฎีและปฏิบัติการวางแผนการสอนการเลือกยุทธวิธีการสอนการเลือกใช้และผลิตวัสดุช่วยสอนตลอดจนเทคนิคการแก้ไขปัญหาขณะทำการสอนและตรวจงานของผู้เรียนการวัดและประเมินผลและนำผลมาพัฒนาการจัดการเรียนรู้ตลอดจนการบันทึกและการรายงานผลการจัดการเรียนรู้การมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อนร่วมฝึกสอนและสถานฝึกสอนการปฏิบัติตนอย่างมีคุณธรรมจริยธรรมของความเป็นครูฝึกสอนกับผู้เรียนและปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับของสถานฝึกสอนโดยอยู่ภายใต้การควบคุมและแนะนำจากอาจารย์นิเทศและอาจารย์พี่เลี้ยง
 -   อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์ของสาขาวิชาและหน้าห้องพัก  -   อาจารย์ประจำรายวิชา  และอาจารย์ย์นิเทศ จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 2ชั่วโมง/สัปดาห์
 
พัฒนานักศึกษาให้มีคุณธรรม จริยธรรมไปพร้อม ๆ กับวิทยาการต่างๆที่ศึกษาเพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างราบรื่น และเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม สามารถพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมรวมทั้งอาจารย์ต้องมีคุณสมบัติด้านคุณธรรมจริยธรรมอย่างน้อยดังนี้            1.1.1   มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม            1.1.2   มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ            1.1.3    มีวินัย  ขยัน  อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง  สังคม และสิ่งแวดล้อม            1.1.4     เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษ
             1.2.1   สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม              1.2.2   สอดแทรกความซื่อสัตย์ต่อตนเอง และสังคม              1.2.3   เน้นความรับผิดชอบทั้งต่อตนเอง และสังคม ทั้งในบทบาทของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม              1.2.4   ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา   การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด              1.2.5   เน้นเรื่องการแต่งกายและปฏิบัติตนที่เหมาะสม ถูกต้อง ตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย              1.2.6   ปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม                 1.2.7   ปลูกฝังจรรยาบรรณวิชาชีพ
ประเมินจาก ครูนิเทศ  , ครูพี่เลี้ยง  , นักเรียนที่ประเมินครูฝึกสอน, ผู้บริหารสถานศึกษา, งานที่ได้รับมอบหมายจากครูนิเทศ
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ
ความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการบูรณาการความรู้จากการศึกษามาทั้งหมดมาใช้ในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพการมีส่วนร่วมกับสถานศึกษาในการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร การจัดทำแผนการเรียนรู้ร่วมกับสถานศึกษา
2.1.1  จัดให้นักศึกษาออกไปปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาตามเกณฑ์ที่คุรุสภากำหนด 2.2.2  จัดอาจารย์ออกไปนิเทศการสอนของนักศึกษา 2.2.3  จัดสัมมนาสรุปผลการปฏิบัติการสอน
2.3.1  ประเมินผลจากการนิเทศของอาจารย์นิเทศ 2.3.2  ประเมินผลจากอาจารย์พี่เลี้ยง นักศึกษา และผู้บริหารของสถานศึกษาที่ปฏิบัติการสอน 2.3.3  ประเมินผลจากการจัดสัมมนาสรุปผลการปฏิบัติการสอน 2.3.2  ประเมินผลจากการจัดทำรายงานที่กำหนด
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ สามารถคิดวิเคราะห์และบูรณาการองค์ความรู้ได้เป็นอย่างดี
3.2.1  จัดให้นักศึกษาออกไปปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาตามเกณฑ์ที่คุรุสภากำหนด 3.2.2  จัดอาจารย์ออกไปนิเทศการสอนของนักศึกษา 3.2.3  จัดสัมมนาสรุปผลการปฏิบัติการสอน
3.3.1  ประเมินผลจากการนิเทศของอาจารย์นิเทศ 3.3.2  ประเมินผลจากอาจารย์พี่เลี้ยง นักศึกษา และผู้บริหารของสถานศึกษาที่ปฏิบัติการสอน 3.3.3  ประเมินผลจากการจัดสัมมนาสรุปผลการปฏิบัติการสอน 3.3.2  ประเมินผลจากการจัดทำรายงานที่กำหนด
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ สามารถคิดวิเคราะห์และบูรณาการองค์ความรู้ได้เป็นอย่างดี
4.2.1  จัดให้นักศึกษาออกไปปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาตามเกณฑ์ที่คุรุสภากำหนด 4.2.2  จัดอาจารย์ออกไปนิเทศการสอนของนักศึกษา 4.2.3  จัดสัมมนาสรุปผลการปฏิบัติการสอน
4.3.1  ประเมินผลจากการนิเทศของอาจารย์นิเทศ 4.3.2  ประเมินผลจากอาจารย์พี่เลี้ยง นักศึกษา และผู้บริหารของสถานศึกษาที่ปฏิบัติการสอน 4.3.3  ประเมินผลจากการจัดสัมมนาสรุปผลการปฏิบัติการสอน 4.3.2  ประเมินผลจากการจัดทำรายงานที่กำหนด
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ สามารถคิดวิเคราะห์และบูรณาการองค์ความรู้ได้เป็นอย่างดี
5.2.1  จัดให้นักศึกษาออกไปปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาตามเกณฑ์ที่คุรุสภากำหนด 5.2.2  จัดอาจารย์ออกไปนิเทศการสอนของนักศึกษา 5.2.3  จัดสัมมนาสรุปผลการปฏิบัติการสอน
5.3.1  ประเมินผลจากการนิเทศของอาจารย์นิเทศ 5.3.2  ประเมินผลจากอาจารย์พี่เลี้ยง นักศึกษา และผู้บริหารของสถานศึกษาที่ปฏิบัติการสอน 5.3.3  ประเมินผลจากการจัดสัมมนาสรุปผลการปฏิบัติการสอน 5.3.2  ประเมินผลจากการจัดทำรายงานที่กำหนด
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ สามารถคิดวิเคราะห์และบูรณาการองค์ความรู้ได้เป็นอย่างดี
6.2.1  จัดให้นักศึกษาออกไปปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาตามเกณฑ์ที่คุรุสภากำหนด 6.2.2  จัดอาจารย์ออกไปนิเทศการสอนของนักศึกษา 6.2.3  จัดสัมมนาสรุปผลการปฏิบัติการสอน
6.3.1  ประเมินผลจากการนิเทศของอาจารย์นิเทศ 6.3.2  ประเมินผลจากอาจารย์พี่เลี้ยง นักศึกษา และผู้บริหารของสถานศึกษาที่ปฏิบัติการสอน 6.3.3  ประเมินผลจากการจัดสัมมนาสรุปผลการปฏิบัติการสอน 6.3.2  ประเมินผลจากการจัดทำรายงานที่กำหนด
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะ การวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3 6.1 6.2
1 30022507 การปฏิบัติประสบการณ์วิชาชีพครู 2
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.2, 1.3, 1.4, 2.1, 2.2, 2.3 3.1, 3.2, 4.1, 4.2, 4.3, 4.4, 5.1, 5.2, 5.3, 6.1, 6.2 - การนิเทศการสอน - ประเมินผลจากอาจารย์พี่เลี้ยง นักศึกษา และ ผู้บริหารของสถานศึกษาที่ปฏิบัติการสอน ตลอดภาคการศึกษา 30% 40%
2 2.1,3.1,3.2, 6.1,6.2 การจัดสัมมนาสรุปผลการปฏิบัติการสอน ตลอดภาคการศึกษา 10%
3 2.1, 6.1,6.2 การจัดทำรายงานที่กำหนด ตลอดปีการศึกษา 20%
1.  กฤษมันต์ วัฒนาณรงค์. เทคโนโลยีเทคนิคศึกษา. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 2536.          2.  กิดานันท์ มลิทอง. ผศ. สื่อการสอนและฝึกอบรมจากสื่อพื้นฐานถึงสื่อดิจิตอล. กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจำกัดอรุณการพิมพ์ , 2544.          3.ยุทธพงษ์ไกยวรรณ. เทคนิคและวิธีการสอน. กรุงเทพฯ : บริษัทพิมพ์ดีจำกัด, 2541. 4.  ไพโรจน์  ตีรณธนากุล. รศ. วิธีสอนวิชาทฤษฏี. กรุงเทพฯ :  บริษัทพิมพ์ดีจำกัด, 2542. 5.  สุชาติศิริสุขไพบูลย์. ผศ. เทคนิคและวิธีการสอนวิชาชีพ. กรุงเทพฯ : สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 2527. 6.  สุรพันธ์  ตันศรีวงษ์. วิธีการสอน. กรุงเทพฯ : บริษัทสกายบุ๊กส์ จำกัด, 2538.          7.  วัลลภ จันทร์ตระกูล. ผศ. สื่อการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 2543.
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
การสัมมนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้ 2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้สอน 2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้ 3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม 4.2  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร  
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้ 5.1ปรับปรุงเทคนิคการนิเทศการสอน 5.2   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4