เตรียมโครงงานวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และระบบควบคุมอัตโนมัติ

Electronics Engineering and Automation Control Systems Preproject

เพื่อให้นักศึกษาได้ศึกษาเกี่ยวกับวิทยาการใหม่ๆ ที่น่าสนใจในปัจจุบันในสาขาต่างๆที่
เกี่ยวข้องกับงานด้านวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์
วิทยาการใหม่ๆ ที่น่าสนใจในปัจจุบันในสาขาต่างๆที่เกี่ยวข้องกับงานด้านวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ มีหลาก หลาย และมีการพัฒนาอย่างไม่หยุดยั้ง การเรียนการสอนในรายวิชานี้มุ่งหวังฝึกนักศึกษา ให้สามารถทำงานได้เป็นทีม ให้สามารถนำความรู้ ความสามารถ ทักษะที่มีทางด้านวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ ให้สามารถนำมาประยุกต์ใช้งานได้จริง พร้อมทั้งให้เกิดผลสัมฤทธิ์ อย่างแท้จริงได้ซึ่งในการทำงานจา เป็นต้องใช้ทรัพยากร ที่มหาวิทยาลัยควรสนับสนุน
ให้ในรูปแบบของวัสดุการศึกษา สำหรับการฝึก การสร้าง หรือการนำไปแก้ปัญหาต่างๆของ
มหาวิทยาลัยได้เป็นอย่างดี ให้ทัดเทียมกับโลกาภิวัฒน์
ศึกษาและฝกปฏิบัติเกี่ยวกับหัวขอเรื่องพิเศษในสาขาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกสและวิทยาการสมัยใหม
1.) อาจารย์ประจำรายวิชาประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็ปไซด์สาขาวิชา
2.)อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนานักศึกษาให้มีคุณธรรม มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของข้อมูลส่วนบุคคล การไม่เปิดเผยข้ อมูลและการไม่ละเมิดทรัพย์ สินทางปัญญา และควรมีความซื่อสัตย์ ในการทําโครงงาน เพื่อให้สามารถดําเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้ อย่างราบรื่นอ. ที่สอนในแต่ละรายวิชา ต้ งส่งเสริมให้นั กศึกษาสามารถพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมไปพร้อมกับวิทยาการต่าง ๆ ดังนี้ 1.1.1) มีจิตสํานึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรม 1.1.2) มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ 1.1.3) มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 1.1.4) เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.2.1) สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม ความซื่อสัตย์ ต่อตนเอง และสังคม 1.2.2) เน้นความรับผิดชอบทั้งต่อตนเอง และสังคม ทั้งในบทบาทของการเป็นผู้นํากลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม 1.2.3) ให้ความสําคัญในวินัย ตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กําหนด 1.2.4) บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาเช่น การนําแนวคิด หลักการหรือทฤษฎีมาใช้ หรือแอบอ้างเป็นผลงานของตน โดยไม่อ้างอิงถึงแหล่งที่มาหรือบุคคลผู้ซึ่งเป็นเจ้าของผลงาน การกระทําเช่นนี้ถือว่าเป็นการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาที่ร้ายแรงมาก 1.2.5) อภิปรายกลุ่ม 1.2.6) กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างการได้ รับผลจากการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา 1.2.7) เน้นเรื่องการแต่งกายและปฏิบัติตนที่เหมาะสม ถูกต้องตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย 1.2.8) ปลูกฝังจรรยาบรรณวิชาชีพ
 
1.3.1) ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในภาพเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตามกําหนด ระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม 1.3.2) ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้ รับมอบหมาย 1.3.3) ประเมินจากคุณภาพของงานที่ได้รับมอบหมายที่สะท้อนถึงความตั้งใจ ความรับผิดชอบของนักศึกษา 1.3.4) มีการอ้างอิงเอกสารหรือแหล่งที่มาของหลักการ ทฤษฎีหรือแนวคิดที่ได้ นํามาทําโครงงานอย่างถูกต้องและเหมาะสม
นักศึกษาสามารถอธิบายหลักการทำวิจัยทางด้านวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
นักศึกษาสามารถสืบค้นฐานข้อมูลทาง อิเล็กทรอนิกส์
นักศึกษาสามารถถอดใจความสำคัญจากงานวิจัย ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารนานาชาติ
นักศึกษาสามารถอธิบายขั้นตอนการทำวิจัยและมานำเสนอข้อมูล ทำแบบเสนอหน้ากระดานโดยใช้โปรเจคเตอร์
นักศึกษาสามารถค้นหาหัวข้อที่สนใจ เพื่ ฝึกการหาปัญหาจากงานวิจัย
นักศึกษาสามารถคัดแยกความสำคัญของ งานวิจัยที่ได้เลือกมา
นักศึกษาสามารถนำเสนองานวิจัย สำหรับการทำโครงงาน ในภาคการศึกษาต่อไป
บรรยาย อภิปราย การทํางานกลุ่ม การนําเสนอรายงานการวิเคราะห์กรณีศึกษา การละเมิดทรัพย์ สินทางปัญญา และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมา สรุปและนําเสนอ ซึ่งจะเน้นผู้ เรียนเป็นสําคัญ
2.3.1) ประเมินจากรายงานที่นําเสนอตามระยะเวลาที่กําหนด 2.3.2) ประเมินจากการนําเสนอผลการค้นคว้าข้อมูลและกรณีศึกษา 2.3.3) เมื่อสิ้นสุดโครงการ ต้องนําเสนอหัวข้อโครงงานและอธิบายการทํางานของระบบ โดยโครงงานดังกล่าวต้องสามารถทํางานได้ ตามขอบเขต หรือโดยความเห็นชอบจากคณะกรรมการสอบหัวข้อโครงงานและได้ รับอนุมัติโดยหัวหน้าสาขาวิชาฯ
 
พัฒนาทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ ความรู้ทั้งทางด้านทฤษฎีและปฏิบัติ สามารถคิดวิเคราะห์ เข้าใจที่มาและสาเหตุของปัญญาและสามารถแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น อย่างเป็นระบบ และสามารถบูรณาการองค์ ความรู้ได้ เป็นอย่างดี
3.2.1) การมอบหมายโครงงาน ที่ส่งเสริมการคิด วิเคราะห์และการแก้ไขปัญหา 3.2.2) วิเคราะห์กรณีศึกษาผลของการละเมิดทรัพย์ สินทางปัญญา 3.2.3) การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
 
3.3.1) ประเมินผลจากหัวข้อโครงงาน 3.3.2) ประเมินผลจากหัวข้อโครงงาน วัดผลจากการประเมินหัวข้อโครงงานและจากแบบเสนอหัวข้อโครงงาน การนําเสนอผลงาน 3.3.3) สังเกตพฤติกรรมการแก้ ไขปัญหา
4.1.1) พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน 4.1.2) พัฒนาการให้ความร่วมมือในการทํางานทั้งความเป็นผู้นําและผู้ตามในการทํางานเป็นทีม 4.1.3) พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกําหนดเวลา
4.2.1) จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา 4.2.2) มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การค้นคว้าบทความทางวิชาการงานวิจัยหรือเทคโนโลยีต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับโครงงานของนักศึกษา การเขียนบทคัดย่อหรือสรุปหลักการสําคัญจากบทความทางวิชาการที่ได้ ค้นคว้ามา 4.2.3) การนําเสนอรายงานและการนําเสนอต่อคณะกรรมการเพื่อร่วมแสดงความคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะต่าง ๆ ได้
4.3.1) ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กําหนด 4.3.2) ประเมินจากรายงานหรือหัวข้อโครงงานที่นําเสนอ พฤติกรรมการทํางานเป็นทีม 4.3.3) ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง 4.3.4) ประเมินจากรายงานหรือหัวข้อโครงงานที่นําเสนอ โดยสามารถนําความรู้หรือเทคโนโลยีในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสมได้
5.1.1) ทักษะการคิดคํานวณเชิงตัวเลข 5.1.2) พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในด้านการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทํารายงาน และนําเสนอในชั้นเรียน 5.1.3) พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ผลของโครงงาน 5.1.4) พัฒนาทักษะในการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียนรู้ สืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตอย่างเป็นระบบ 5.1.5) พัฒนาทักษะในการแสวงหาความรู้ ข้อมูลสารสนเทศในการพัฒนาตนเองผู้ เรียนและการปฏิบัติงานได้ อย่างเหมาะสม 5.1.6) พัฒนาทักษะในการนําเสนอรายงานความก้าวหน้าโดยสามารถเลือกรูปแบบเครื่องมือ และเทคโนโลยี ที่เหมาะสม 5.1.7) พัฒนาทักษะในการใช้เครื่องมือการคํานวณและเครื่องมือทางวิศวกรรมหรือซอฟแวร์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับโครงงานของนักศึกษาได้ 5.1.8) พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
5.2.1) มอบหมายงานให้ ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง 5.2.2) นําเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยี ที่เหมาะสม
5.3.1) ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนําเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี ที่เหมาะสม 5.3.2) ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการนําเสนอรายงานความก้าวหน้าและโครงงาน 5.3.3) ประเมินจากการใช้ ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้ อย่างเหมาะสม
6.1.1) มีความรู้ ความชำนาญในการใช้เครื่องมือทางวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์พื้นฐานได้เป็นอย่างดี 6.1.2) สามารถออกแบบวงจร วิเคราะห์ปัญหา และประยุกต์ความรู้เพื่อทำงานทางวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ได้ดี
6.2.1) สร้างทักษะในการปฏิบัติงาน 6.2.2) สาธิตการปฏิบัติการโดยผู้เชี่ยวชาญ 6.2.3) สนับสนุนการเข้าประกวดทักษะด้านการปฏิบัติ 6.2.4) จัดนิทรรศการแสดงผลงานของนักศึกษา 6.2.5) สนับสนุนการทำหัวข้อโครงงาน 6.2.6) การฝึกงานในสถานประกอบการ
6.3.1) มีการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงาน 6.3.2) มีการใช้งานวิจัยของอาจารย์ประกอบการเรียนการสอน 6.3.3) มีการประเมินผลการทำงานในภาคปฏิบัติ 6.3.4) มีการประเมินหัวข้อโครงงานนักศึกษา 6.3.5) มีการประเมินนักศึกษาวิชาสหกิจศึกษา
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม โดยการสังเกต ทุกสัปดาห์ 10%
2 ความรู้ ตรวจสอบเอกสาร งานที่มอบหมาย ทุกสัปดาห์ 30%
3 ทักษะทางปัญญา ตรวจสอบเอกสาร งานที่มอบหมาย ทุกสัปดาห์ 20%
4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างตัวบุคคลและความรับผิดชอบ ตรวจสอบเอกสาร งานที่มอบหมาย ทุกสัปดาห์ 20%
5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ตรวจสอบเอกสาร งานที่มอบหมาย ทุกสัปดาห์ 20%
1.1 วารสารวิจัยจากฐานข้อมูล www.ieeexploer.or.th/
2.1 ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ของสถาบัน
2.2 แหล่งข้อมูลสืบค้นบน Internet
แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชาโดยผ่านเว็บของสำนักทะเบียนและประมวลผล
1) ผลการเรียนของนักศึกษา ผลการสอบ
2) การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
1) สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
2) การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
การทวนสอบในระดับหลักสูตร จากคะแนนข้อสอบ หรืองานที่มอบหมาย มีระบบประกันคุณภาพภายใน เพื่อใช้ในการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
ปรับปรุงรายวิชาทุกปีตามแบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา