เทคโนโลยีหลังพิมพ์

Post-press Technology

1. รู้และเข้าใจกระบวนการทำสิ่งพิมพ์ด้วยเทคนิคการแปรรูป เทคนิคงานทำสำเร็จด้วยเครื่องจักรและเทคโนโลยี
2. รู้และเข้าใจการตรวจสอบ วิเคราะห์ แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นกับงานหลังพิมพ์
3. มีทักษะในการใช้เครื่องจักรและเทคโนโลยีงานหลังพิมพ์สำหรับตกแต่งและเพิ่มมูลค่าให้กับสิ่งพิมพ์
-
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับกระบวนการทำสิ่งพิมพ์ด้วยเทคนิคการแปรรูป เทคนิคงานทำสำเร็จสำหรับตกแต่งสิ่งพิมพ์โดยใช้เครื่องจักรและเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับสิ่งพิมพ์ ตลอดจนสามารถตรวจสอบ วิเคราะห์ แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นของงานหลังพิมพ์
2 ชั่วโมง โดยระบุวัน เวลา  ไว้ในตารางสอนและแจ้งให้นักศึกษาทราบในชั่วโมงแรกของการสอน
1. มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
2. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง  สังคม และสิ่งแวดล้อม
      1. สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณทางด้านวิชาการ วิชาชีพให้กับนักศึกษาในรายวิชาที่สอน
       2. สร้างให้นักศึกษารู้จักหน้าที่ในการทำงานที่ได้รับมอบหมายทั้งต่อตนเองและสังคม
1. การตรงต่อเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย
               2. ความรับผิดขอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
1. มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการทำสิ่งพิมพ์ด้วยเทคนิคการแปรรูป เทคนิคงานทำสำเร็จด้วยเครื่องจักรและเทคโนโลยี ตลอดจนการตรวจสอบ วิเคราะห์ แก้ไขปัญหางานหลังพิมพ์
 2. สามารถบูรณาการใช้ความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. บรรยาย อภิปรายในชั้นเรียนและการซักถามตอบข้อปัญหาที่นักศึกษาไม่เข้าใจ
           2. สาธิตและนักศึกษาฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติงาน
           3. การศึกษาดูงานจากสถานประกอบการจริง
1. การสอบกลางภาค ปลายภาคเรียน และการทดสอบย่อย
           2. ประเมินผลจากรายงานและผลงานปฏิบัติ
           3. ประเมินผลจากการนำเสนอและรายงานในชั้นเรียน
1. มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
การมอบหมายงานให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูล การนำเสนองานแบบเดี่ยวหรือกลุ่ม
1. ประเมินผลตามสภาพจริงในการปฏิบัติงาน
           2. การนำเสนอผลงานสำเร็จและรายงานหน้าชั้นเรียน
           3. การปฏิบัติงานถูกต้องตามหลักการ
1. สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
           2. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สอดแทรกการมีมนุษยสัมพันธ์ มารยาททางสังคมให้กับนักศึกษา นักศึกษาสามารถแสดงความคิดเห็นและยอมรับข้อคิดเห็นที่แตกต่างกันในการนำเสนองานได้ สร้างให้นักศึกษามีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม
1. พฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอผลงานสำเร็จและรายงานหน้าชั้นเรียนตลอดจนการร่วมทำกิจกรรมต่างๆ ภายในกลุ่ม
สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสือสารที่เหมาะสม
1. บรรยายและอภิปรายในชั้นเรียน
          2. การนำเสนอโดยการวิเคราะห์การแก้ปัญหาโดยใช้เทคโนโลยีและแหล่งข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตร่วมในการวิเคราะห์
1. การนำเสนอโดยใช้สื่อที่เหมาะสม
           2. การมีส่วนร่วมในการอภิปรายร่วมกันในกลุ่ม
1. มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
           2. มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
1. ใบงานที่มอบหมายให้ปฏิบัติ
           2. บรรยายและสาธิตในภาคปฏิบัติ
1. กระบวนการทำงานถูกต้องตามขั้นตอน
           2. ผลงานสำเร็จที่มีคุณภาพ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1. สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณทางด้านวิชาการ วิชาชีพให้กับนักศึกษาในรายวิชาที่สอน 2. สร้างให้นักศึกษารู้จักหน้าที่ในการทำงานที่ได้รับมอบหมายทั้งต่อตนเองและสังคม 1. บรรยาย อภิปรายในชั้นเรียนและการซักถามตอบข้อปัญหาที่นักศึกษาไม่เข้าใจ 2. สาธิตและนักศึกษาฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติงาน 3. การศึกษาดูงานจากสถานประกอบการจริง 1. การมอบหมายงานให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูล 2. การนำเสนองานแบบเดี่ยวหรือกลุ่ม 1. สอดแทรกการมีมนุษยสัมพันธ์ มารยาททางสังคมให้กับนักศึกษา 2. นักศึกษาสามารถแสดงความคิดเห็นและยอมรับข้อคิดเห็นที่แตกต่างกันในการนำเสนองานได้ 3. สร้างให้นักศึกษามีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม . บรรยายและอภิปรายในชั้นเรียน 2. การนำเสนอโดยการวิเคราะห์การแก้ปัญหาโดยใช้เทคโนโลยีและแหล่งข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตร่วมในการวิเคราะห์ 1. ใบงานที่มอบหมายให้ปฏิบัติ 2. บรรยายและสาธิตในภาคปฏิบัติ
1 BTEPP133 เทคโนโลยีหลังพิมพ์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม 1. การตรงต่อเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย 2. ความรับผิดขอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 ความรู้ 1. การสอบกลางภาค ปลายภาคเรียน และการทดสอบย่อย 2. ประเมินผลจากรายงานและผลงานปฏิบัติ 3. ประเมินผลจากการนำเสนอและรายงานในชั้นเรียน 9,18 6,10,16 20%
3 ทักษะทางปัญญา 1. ประเมินผลตามสภาพจริงในการปฏิบัติงาน 2. การนำเสนอผลงานสำเร็จและรายงานหน้าชั้นเรียน 3. การปฏิบัติงานถูกต้องตามหลักการ ตลอดภาคการศึกษา 20%
4 ทักษะความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลและ ความรับผิดชอบ 1. พฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอผลงานสำเร็จและรายงานหน้าชั้นเรียนตลอดจนการร่วมทำกิจกรรมต่างๆ ภายในกลุ่ม ตลอดภาคการศึกษา 10%
5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 1. การนำเสนอโดยใช้สื่อที่เหมาะสม 2. การมีส่วนร่วมในการอภิปรายร่วมกันในกลุ่ม ตลอดภาคการศึกษา 10%
6 ทักษะพิสัย 1. กระบวนการทำงานถูกต้องตามขั้นตอน 2. ผลงานสำเร็จที่มีคุณภาพ ตลอดภาคการศึกษา 30%
1. คะนอง  รุ่งจาตุรนต์ วรรณา สนั่นพานิชกุล และอมรพรรณ  ซุ้มโชคชัยกุล. การทำสิ่งพิมพ์สำเร็จรูปด้วย
การเย็บด้าย. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2538. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  นนทบุรี.
2. บุญชู ศิริสกาวกุล และสุรเดช  เหล่าแสงงาม. เทคนิคงานหลังพิมพ์ 1. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2538.
    สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  นนทบุรี.
3. บุญชู ศิริสกาวกุล และสุรเดช  เหล่าแสงงาม. เทคนิคงานหลังพิมพ์ 2. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2539.
    สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  นนทบุรี.
4. บุญชัย วลีธรชีพสวัสดิ์. การทำรูปเล่มหนังสือ. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2541. สำนักพิมพ์
    มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  นนทบุรี.
5. บุญชัย  วลีธรชีพสวัสดิ์.  งานหลังพิมพ์. พิมพ์ครั้งที่ 2 พ.ศ. 2552 ปรับปรุงครั้งที่ 1 พ.ศ. 2548.
    สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  นนทบุรี.
แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา แบบประเมินผู้สอนโดยผู้เรียน
ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
-
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ